สำหรับกรณี ที่แพทย์สงสัยว่าอาจมีสาเหตุอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองได้ เช่น หลอดเลือดโป่งพองในสมองหรือ arteriovenous malformation แพทย์ก็ควรส่งตรวจด้วยการฉีดสีดูหลอดเลือดในสมอง เพื่อหาสาเหตุให้แน่ชัดต่อไป. ผู้ป่วยรายนี้มาด้วยอาการพูดโต้ตอบไม่ได้ แต่ฟังผู้อื่นพูดแล้วเข้าใจและสามารถทำตามคำสั่งได้อย่างถูกต้อง อันเป็นลักษณะความผิดปกติของการทำงานของระบบประสาทที่เรียกว่า motor aphasia. อาการพูดไม่ได้นี้เป็นอยู่ไม่กี่นาทีก็สามารถหายเป็นปกติได้ ดังนั้น เมื่อแพทย์ตรวจร่างกายแรกรับจึงไม่พบความผิดปกติของระบบประสาทแต่อย่างใด. อาการผิดปกติของระบบประสาทที่เป็นอยู่ไม่นานแล้วหายเป็นปกติได้เองภายใน 24 ชั่วโมงเช่นนี้มักเข้าได้กับภาวะสมอง ขาดเลือดชั่วคราว อีกทั้งผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดตีบตันในสมองหลายประการ เช่น เป็นผู้สูงอายุ มีโรคประจำตัวคือ โรคความดันเลือด สูง โรคไขมันในเลือดสูง และโรคหัวใจขาดเลือดเหล่านี้เป็นต้น. นอกจากนี้ ผู้ป่วยรายนี้มีอาการผิดปกติของระบบประสาทแบบเดียวกันนี้เกิดขึ้นถึง 2 ครั้งภายใน 1 เดือนและหายเป็นปกติได้เองทุกครั้ง. ดังนั้น จากลักษณะป’จจัยเสี่ยงร่วมกับอาการแสดงเหล่านี้จึงยิ่งสนับสนุนให้แพทย์คิดถึงว่ามีโอกาสเป็นโรคสมองขาดเลือดชั่วคราวมากขึ้น.
แพทย์เวร ได้พิจารณาทำการสืบค้นเพื่อวินิจฉัยโรคด้วยการส่งตรวจคอมพิวเตอร์สมอง ต่อมาผลคอมพิวเตอร์สมองพบว่า มีภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชนิดเฉียบพลัน อันสามารถอธิบายสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมีการทำงานของระบบประสาทผิดปกติเช่นนี้ได้. ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองเช่นนี้มักเกิดจากการที่ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ แต่จาก การซักประวัติในผู้ป่วยรายนี้ไม่พบว่าได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะแต่อย่างใดมาก่อน. แพทย์ควรทำการซักประวัติและตรวจร่างกายของผู้ป่วยอย่างละเอียด รวมทั้งควรประเมินการรู้สึกตัวด้วย Glasgow Coma Score เมื่อสงสัยว่ามีภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองก็ควรส่งตรวจ ด้วย คอมพิวเตอร์สมองทุกรายเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค. การผ่าตัดมีข้อบ่งชี้ว่าควรพิจารณาทำในรายที่มีชั้นเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองหนามากกว่า 10 มม. และก้อนเลือดนั้นมีการกดเบียด ร่องกลางของสมองให้เคลื่อนไปจากตรงกลาง มากกว่า 5 มม. นอกจากนี้ ถ้าผู้ป่วยมีระดับการรู้สึกตัวแย่ในระดับ GCS น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 หรือรูม่านตาขยายโตมากก็ควรรีบตัดสินใจผ่าตัดในทันที.
ประเภทของบาดแผล
แนวทางการให้ยาและการคำนวณขนาดยาสำหรับเด็ก ประสิทธิภาพของการใช้ยารักษาโรคหรือภาวะผิดปกติในเด็ก นอกจากจะขึ้นอยู่กับการวินิ… ระยะเรื้อรัง มักมีอาการภายใน 2 สัปดาห์หรือนานกว่านั้น พบว่าร้อยละ 45 ของผู้ป่วยมักมาด้วยอาการแขนขาอ่อนแรง และพบได้ถึงร้อยละ 50 ของผู้ป่วยอาจมาด้วยมีการเปลี่ยน แปลงของระดับความรู้สึกตัวหรือสับสน ผู้ป่วยบางรายอาจมาด้วยอาการหลงลืม หรือจำไม่ได้ว่าเกิดอุบัติเหตุอะไรขึ้นก็ได้. ระยะรองเฉียบพลัน อาการเกิดขึ้นในช่วง 24 ชั่วโมงแรกจนถึง 2 สัปดาห์ ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการปวดศรีษะ มีระดับความรู้สึกตัวลดลง หรืออาการแขนขาอ่อนแรง. การตรวจร่างกายระบบการหายใจ ทรวงอกและปอด การดู ควรสังเกตสิ่งต่อไปนี้ รูปร่างลั… คำศัพท์ทางการแพทย์ คำย่อแผนกต่าง ๆ ของโรงพยาบาลที่เรียกกันทั่วไป ER ย่อมาจาก EMERGENCY ROOM ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน OR ย่อมาจาก OP… การเย็บแผล เป็นหัตถการที่อยู่ในขอบเขต ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สามารถปฏิบัติได้ โดยก่อนปฏิบัติหัตถการใด ๆ ควรมีการประเม…
ผู้ป่วยไม่เคยมีประวัติการบาดเจ็บทางสมองมาก่อน แรกรับจากการตรวจร่างกาย ทั้งระบบประสาทและระบบอวัยวะอื่นๆ พบว่า อยู่ในเกณฑ์ปกติ. แพทย์ที่ห้องฉุกเฉินคิดถึงว่า อาการพูดไม่ได้ชั่วคราวนี้อาจเกิดจากกลุ่มอาการสมองขาดเลือด ชั่วคราวที่เรียกว่า transient ischemic assault ดังนั้น แพทย์เวรจึงพิจารณาส่งผู้ป่วยไปตรวจคอมพิวเตอร์สมอง. ผลจากการตรวจคอมพิวเตอร์สมองพบว่า มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชนิดเฉียบพลัน ซึ่งมีความกว้างของชั้นเลือดวัดจากขอบในของกะโหลกศีรษะถึงกลีบเนื้อสมอง ขนาด 1.7 ซม.ที่บริเวณเนื้อสมองกลีบ parieto-frontal ด้านซ้าย ดังภาพที่ 1 แพทย์เวรจึงได้ส่งปรึกษาศัลยแพทย์ระบบประสาทเพื่อพิจารณา รักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป. อย่างไรก็ตาม รูปร่างของก้อนเลือดก็ยังคงเว้าเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวรอบๆ ผิวสมองอยู่ดี ส่วนมากคอมพิวเตอร์สมองจะตรวจพบว่ามีภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองต่อเมื่อมีชั้นของเลือดออกหนามากกว่า 5 มม. ก็ควรส่งตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้าแทน จึงจะสามารถให้การวินิจฉัยภาวะนี้ได้. นอกจากนี้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมองยังสามารถตรวจพบเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองในกรณีที่มีเลือดออก อยู่ระหว่างสมอง 2 ซีก หรือบริเวณสมองส่วน tentorial ได้ดีกว่าคอมพิวเตอร์สมองอีกด้วย.
ภาวะแทรกซ้อนของ Aortic Dissection
อุบัติการณ์ของภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองพบได้เพียงร้อยละ 2.6 ส่วนสาเหตุอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดภาวะนี้ได้บ้างแต่ไม่บ่อย เช่น หลอดเลือดโป่งพองในสมอง , arteriovenous malformation , เนื้องอกของสมองชนิด meningioma, มะเร็งแพร่กระจายมาที่เยื่อหุ้มสมอง dura (dura metasta-ses), การทำร้ายร่างกายในเด็ก , การให้ยาละลายลิ่มเลือดในโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือด, การเสพติดยาโคเคน เป็นต้น. ภาวะนี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยมากมักเกิดจากการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะจนเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ ซึ่งรับเลือดจากผิวของเนื้อสมองแล้วทอดไปยังแอ่งเลือดดำ dural sinuses ที่อยู่ใต้เยื่อหุ้มสมอง dura เมื่อ bridging vein ฉีกขาดก็จะทำให้มีเลือดออกสะสมอยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้น dura อันทำให้พบก้อนเลือดใต้เยื่อหุ้มสมองได้บ่อยในบริเวณสมองส่วน frontotemporal area. อย่างไร ก็ตาม มีโอกาสที่จะเกิดก้อนเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองจากการฉีกขาดของหลอดเลือดแดงได้ร้อยละ โดยบริเวณที่เลือดแดงไหลออกมาสะสมเป็นก้อนเลือด มักเป็นบริเวณใต้เยื่อหุ้มสมองแถวกลีบสมองส่วน temporoparietal. ระยะเฉียบพลัน ผู้ป่วยมักมีอาการหลังเกิดอุบัติเหตุ 24 ชั่วโมง โดยมากผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ด้วยอาการหมดสติ หรือมีการเปลี่ยน แปลง ของระดับความรู้สึกตัวอย่างชั่วคราว ที่เรียกว่า lucid interval ซึ่งพบได้ถึงร้อยละ ส่วนอาการอื่นๆ ที่อาจพบได้อีกก็อาจเป็นอาการปากเบี้ยว แขนขาอ่อนแรง รูม่านตาผิดปกติหรืออาการของเนื้อ สมองบวมเหล่านี้เป็นต้น. ชี พ จ ร ชีพจร เป็นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทำให้ผนังของหลอดเลือดแดงขยายออกเป็นจังหวะ เป็นผล…
การใส่สวนปัสสาวะ หมายถึง การสอดใส่สายสวนปัสสาวะที่เรียกว่า catheter ผ่านทางท่อปัสสาวะเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ ด… วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก แต่…
หลอดเลือดแดงใหญ่
ผู้ป่วยหญิงอายุ 63 ปี มีโรคประจำตัวคือ ความดันเลือดสูง, ไขมันในเลือดสูง และหลอดเลือดหัวใจตีบ มาพบแพทย์ที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการพูดไม่ได้ 12 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล. อาการเกิดขึ้นกะทันหันขณะรับประทานอาหาร โดยที่ระหว่างมีอาการผู้ป่วยสามารถเข้าใจเรื่องที่ผู้อื่นคุยได้ทั้งหมดแต่ไม่สามารถพูดโต้ตอบได้ ผู้ป่วยมีอาการเช่นนี้อยู่นาน 15 นาที หลังจากนั้นก็กลับมาพูดได้เป็นปกติ. ผู้ป่วยเคยมีอาการพูดไม่ได้แบบนี้เมื่อ 1 เดือนก่อนและ 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาลรวมทั้งหมด 2 ครั้ง ซึ่งอาการก็หายเป็นปกติได้เอง.