เมื่อคุณเกิดบาดแผลฉีกขาดมีเลือดออก สักครู่เลือดจะแข็งตัวและหยุดไหลได้เองซึ่งเป็นการรักษาตัวเองตามธรรมชาติ. ทางตรงกันข้ามผู้ป่วยบางคนกลับมีเลือดแข็งตัวผิดปกติจนเป็นลิ่มเลือดไปอุดตันหลอดเลือดสำคัญๆ ของร่างกาย การศึกษาในเรื่องนี้จึงถือเป็นงานหนึ่งที่สำคัญของมนุษยชาติ. แต่มันไม่หยุดอยู่แค่นั้น ยังมีการค้นพบ Factor X, XI, XII ในเวลาต่อมา และเมื่อ Factor XIII ถูกค้นพบในปีค.ศ. 1961 ระบบการใช้เลขโรมันจึงถูกระงับไว้แค่นั้น ปัจจัยที่ถูกค้นพบเพิ่มเติมหลังค.ศ. 1961 จึงมีชื่อเรียกไปตามชื่อสารนั้นซึ่งมีด้วยกันหลายตัวคือ vitamin K, protein C, protein S, protein Z, prekallikrein และ kininogen เป็นต้น. นอกจากนี้กลไกปฐมภูมิยังมีสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกหลายตัว ที่สำคัญคือ adenosine diphos- phate, fibronectin และ thromboxan เป็นต้น.
ตัวเอกของกลไกปฐมภูมิคือเกล็ดเลือด ครับ เมื่อเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือด fibrinogen จะจับกับตัวรับบนเกล็ดเลือดที่ชื่อ GP IIb/IIIa กระตุ้นให้เกล็ดเลือดมารวมตัวกัน . ปัจจุบันทราบแล้วว่าการแข็งตัวของเลือดอาศัยกลไก 2 อย่างคือกลไกปฐมภูมิและกลไกทุติยภูมิ ผมขออนุญาตเล่าทีละกลไกตามลำดับก่อนหลังนะครับ. โรงพยาบาลนนทเวช มีความเพรียบพร้อมทางวิทยาการ มีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และแพทย์เฉพาะทาง ในสาขาต่างๆ มากกว่า 300 คน ที่พร้อมจะให้บริการและรักษา คนไข้อย่างเต็มความสามารถตลอด 24 ช.ม. อีกปัจจัยที่หายไปคือ thromboplastin ต่อมาปรากฏว่ามันไม่มีอยู่จริง ดังนั้น Factor III จึงไม่มีในระบบการแข็งตัวของเลือดในปัจจุบันเช่นกัน. เกล็ดเลือดที่เชื่อมกันเป็นก้อนนี้จะรวมตัวกับตาข่าย fibrin ที่ได้จากกลไกทุติยภูมิกลายเป็นลิ่มเลือด อุดรูรั่วของหลอดเลือด ทำให้เลือดหยุดไหลนั่นเอง.
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีอะไรบ้างที่คู่รักต้องระวัง เช็กสัญญาณติดโรค !
คงจะดีไม่น้อยถ้าเราสามารถทำอะไรหลาย ๆ อย่างได้โดยไม่ต้องเคลื่อนไหว ซึ่งอาจจะฟังดูเหมือนเป็นจินตนากา … E-learning (อีเลิร์นนิง) มาจากคำว่า digital learning ซึ่งแปลตรงตัวเลยก็คือ การเรียนแบบอิเล็กทรอน …