14. โยนิโสมนสิการ ทำให้เกิดปัญญาชนิดใด ก. Copyright ©2016.
อนึ่ง ส่วนนี้ในพระไตรปิฎกของมหายานไม่มี เพราะตามมหาโคสิงคสาลสูตรพระเถระผู้นำในสังคายนาครั้งที่ 1ของเถรวาท ส่วนมากท่านเป็นลูกศิษย์พระสารีบุตรอัครสาวกด้วย ฉะนั้น ท่านจึงแสดงมหาสติปัฏฐานสูตรตามที่ฟังมาจากพระสารีบุตร เพราะพระพุทธเจ้ายกย่องธรรมะที่พระสารีบุตรแสดงให้เทียบเท่ากับที่พระองค์แสดง, ส่วนทางนิกายอื่นรวมถึงมหายานนั้น สังคายนากันโดยไม่มีพระเถระเหล่านั้นอยู่ด้วย ฉะนั้น พระสูตรฝั่งมหายานจึงไม่มีส่วนที่มาจากพระสารีบุตร ทั้งในสูตรนี้ และทั้งอภิธรรมด้วย. มหาอรรถกถาแบบที่อธิบายด้วยสีหวิกีฬิตนัย จะอยู่ในอรรถกถาของแต่ละบรรพะ เพราะสติปัฏฐาน 4 จัดอยู่ในสีหวิกีฬิตนัย มหาสติปัฏฐานสูตรจึงแสดงตามสีหวิกีฬิตนัย, ฉะนั้น ในอรรถกถาของแต่ละบรรพะจึงต้องอธิบายองค์สภาวะธรรมของบรรพะตามลำดับสีหวิกีฬิตนัย คือ แสดงลำดับครบถ้วนตั้งแต่การเชื่อมโยงกับบรรพะก่อน ไปจนวิธีการทำกรรมฐานจนถึงขยญาณ ตามลำดับในพระบาลีแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร, ไม่ใช่การจัดโปรแกรมเฉพาะบุคคลแบบติปุกขลนัย. จตุธาตุววัตถานแสดงต่อจากอานาปานัสสติ,อิริยาบถ,และสัมปชัญญบรรพะ เพราะสมถวิปัสสนาเป็นยุคนัทธธรรม ต้องเจริญคู่กัน. ฉะนั้น แสดงอานาปานสติในอิริยาบถใหญ่น้อยแล้ว จึงแสดงรูปกรรมฐานด้วยจตุธาตุววัตถานต่อกัน. จะเห็นได้ว่า ในอรรถกถาของ 3 บรรพะจึงกล่าวถึงจตุธาตุววัตถานวิปัสสนาในฐานะรูปกรรมฐานไว้ แม้ว่าวิปัสสนาในรูปกรรมฐานควรจะเริ่มที่บรรพะนี้ก็ตาม นั่นก็เพราะเหตุที่สมถวิปัสสนาเป็นยุคนัทธธรรมนั่นเอง.
เจริญกายานุปัสสนาก็พ้นโลกได้ เจริญเวทนานุปัสสนา จิตตานุปัสสนา ธัมมานุปัสสนาก็พ้นโลกได้ทั้งสิ้น
อย่างอานาปานสติบรรพะนี้ ท่านแสดงว่าเป็นสมถยานิก. ปฏิกูลมนสิการบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยการระลึกถึงแต่อวัยวะ 32 หรือที่เรียกว่า อาการ 32. บรรพะนี้เหมาะกับสมถะยานิก เพราะมีอารมณ์เป็นอวัยวะสมูหฆนอัตถบัญญัติจึงสามารถบรรลุโลกิยอัปปนาได้. คำอธิบายที่เหลือดูคำอธิบายอานาปานบรรพะข้างบน. จากการที่สติปัฏฐานเป็นได้ทั้งสมถะและวิปัสสนาจึงทำให้ทราบได้ว่าสติปัฏฐานมีทั้งบัญญัติและปรมัตถ์เป็นอารมณ์ เพราะสมถะ เช่น นิมิต ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่านิมิตเป็นบัญญัติ, ส่วนวิปัสสนา เช่น อิริยาบถบรรพะ ก็มีอิริยาบถและไตรลักษณ์เป็นต้น ซึ่งเป็นบัญญัติ เป็นอารมณ์ได้. ก่อนสติปัฏฐานสูตร ในมัชฌิมนิกาย มีสูตรชื่อว่า สัมมาทิฏฐิสูตร ซึ่งท่านพระสารีบุตรบอกกรรมฐานไว้มากกว่าสติปัฏฐานสูตรอีก โดยกล่าวไว้ถึง 32 กรรมฐาน ในขณะที่สติปัฏฐานสูตรกล่าวไว้เพียง 21 กรรมฐานเท่านั้น.
มีประเด็นว่า มหาอรรถกถาไม่ให้ปฏิบัติวิปัสสนาโดยใช้อิริยาบถใหญ่และอิริยาบถย่อย เพราะอิริยาบถไม่ใช่สัมมสนรูป, แต่พระมหาสิวะได้อธิบายวิธีที่สามารถนำมาทำวิปัสสนาได้ โดยการแยกรูปปรมัตถ์ออกจากอิริยาบถที่เป็นอัตถบัญญัติ แล้วทำวิปัสสนาเฉพาะในสัมมสนรูป. อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์โดยหลักจตุพยูหหาระแล้ว วัตถุประสงค์ของบรรพะนี้ คือ การเน้นให้โยคีทำกรรมฐานที่เรียนมาเช่นอานาปานัสสติเป็นต้นตลอดเวลาไม่ขาดช่วง, ฉะนั้น มติของมหาอรรถกถาจึงอธิบายโครงสร้างของสูตรได้ตรงตามพุทธประสงค์มากกว่า. ส่วนมติของพระมหาสิวะนั้นก็ถูกต้องตามหลักธรรมะและช่วยอธิบายเรื่องสมถยานิกและวิปัสสนายานิกที่มาในมหาอรรถกถาด้วย แม้จะไม่เข้ากับโครงสร้างของสูตรนี้ก็ตาม.
อริยวงศ์ Four ประการ
11. คำว่า “ตัณหาจริตอย่างอ่อน” และ”ทิฏฐิจริตอย่างอ่อน”นั้น สมัยนี้มีการพูดถึงกันมาก เพราะเอามาจากอรรถกถาสติปัฏฐานสูตรเป็นต้นนั่นเอง มาจากศัพท์ว่า “มนฺทสฺส ตณฺหาจริตสฺส” กับ “ทิฏฺฐิจริตสฺส มนฺทสฺส” ซึ่งดูจากฏีกาวิสุทธิมรรค และเนตติปกรณ์ รวมถึงในอรรถกถาของทีฆนิกายแล้ว ถ้าจะอ่านให้รู้เรื่องควรเข้าใจคำนี้ว่าเป็น “ตัณหาจริต ปัญญินทรีย์แก่กล้า/ปัญญินทรีย์อ่อนหัด” กับ “ทิฏฐิจริต ปัญญินทรีย์แก่กล้า/ปัญญินทรีย์อ่อนหัด”. sixteen. จิตตบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยจิตด้วยการวิเคราะห์สัมปยุตธรรมของจิตปัจจุบันสันตติ เพื่อทำฆนะวินิพโภคะ (การแยกปัจจัยปัจจยุปบันที่ซับซ้อน)ในอรูปธรรม. บรรพะนี้เหมาะสำหรับวิปัสสนายานิก เพราะไม่สามารถบรรลุอัปปนาได้ เนื่องจากมีจิตหลายดวงเป็นอารมณ์ (แต่วิญญาณัญจายตนอัปปนา มีอารมณ์แค่อากาสานัญจายตนจิตอย่างเดียวเท่านั้น). ธาตุมนสิการบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยธาตุ 4อย่างย่อ คือ แสดงเพียงธาตุดิน (m-มวล) ธาตุน้ำ (a-ความดึงดูด,ความเร่ง,ความหนืด) ธาตุไฟ (t-อุณหภูมิ) ธาตุลม (v,u-ความเร็ว,ความไหว) ซึ่งต่างจากมหาหัตถิปโทปมสูตรที่แสดงไว้อย่างละเอียดกว่า.
- กล่าวคือ เมื่อเรียนกรรมฐานมีอานาปานัสสติเป็นต้นแล้ว ก็ให้บริหารให้เจริญขึ้นต่อเนื่องอยู่ตลอดทั้งอิริยาบถใหญ่และอิริยาบถย่อย.
- อนึ่ง ข้อน่าสังเกต คือ ฉ.
- คำอธิบายที่เหลือดูคำอธิบายอิริยาบถบรรพะข้างบน.
- 21.
- สัจจะบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยการใช้สัมมาทิฏฐิในมรรคสัจหาเหตุเกิด (สมุทัยสัจ) และเหตุดับ (นิโรธสัจ) ของทุกข์.
ทั้งสองมติไม่ได้ขัดแย้งกันและเป็นประโยชน์ทั้งคู่ พระพุทธโฆสาจารย์จึงไม่ตัดสินถูกผิดใดๆ ในสองมตินี้ เพียงแต่ให้มติของมหาอรรถกถาเป็นมติหลัก เพราะมติของมหาอรรถกถาเข้ากับโครงสร้างของสูตรมากกว่า. วิสุทธิมรรคกล่าวว่า อานาปานสติเป็นกรรมฐานสำหรับโมหจริต (คนขี้ลืม). และกล่าวว่า สติมีหน้าที่ทำให้จิตเจตสิกไม่หลงลืมอารมณ์ (อสัมโมหรสา), ดังนั้น ถ้ายังเป็นคนขี้หลงขี้ลืมอยู่ สติก็จะไม่สามารถเจริญได้. จะเห็นได้ว่า กรรมฐานอื่นไม่มีคุณสมบัติเหล่านี้สมบูรณ์เท่าอานาปานัสสติเลย, ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงแสดงอานาปานบรรพะก่อน เพราะเกื้อกูลต่อการเจริญสติมากที่สุด. 12. การแสดงข้อมูลสำหรับสะสมอบรมสติปัฏฐานไว้ถึง 21 แบบ ซ้ำกันไปซ้ำกันมาในเรื่องเดียวกันอยู่อย่างนี้ เพราะทรงแสดงตามนิสัยสันดานของแต่ละคนที่มีความรู้ความเข้าใจทางด้านข้อมูลและภาษาเป็นต้นมาไม่เหมือนกัน หากทรงแสดงย่อเพียงแบบใดแบบหนึ่ง ผู้ฟังบางส่วนอาจไม่สามารถทำความเข้าใจจนบรรลุได้.
มรรค 8 หนทางปฏิบัติเพื่อการดับทุกข์ 8 ประการ
อัปปนาสามารถเกิดได้ง่ายกว่าในอิริยาบถนั่ง, ถ้าท่านแสดงสองบรรพะนี้เป็นสมถะด้วย โยคีผู้ใหม่จะเดินบ้าง นอนบ้างทำสมถะ ซึ่งเป็นอิริยาบถที่ยากต่อการทำให้เกิดอัปปนา. แม้ผู้ที่ได้วสีแล้ว อิริยาบถนั่งก็ยังเป็นอิริยาบถที่เข้าอัปปนาได้ง่ายกว่า. อย่างไรก็ตาม สมถยานิกผู้ใหม่เมื่อเริ่มทำสมถะก็ควรทำทั้งอิริยาบถใหญ่และย่อยเช่นกันเพื่อรักษานิมิตกรรมฐาน เพียงแต่เน้นที่อิริยาบถนั่งเพราะจิตจะตั้งมั่นได้ง่ายกว่า กรรมฐานจะเจริญขึ้นง่ายและไวกว่าอิริยาบถอื่น. ในมหาสติปัฏฐานสูตรท่านได้แสดงเรื่องเกี่ยวกับสติปัฏฐานไว้อย่างละเอียด โดยแบ่งแสดงออกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปพฺพ(ปัพพะ,บรรพะ, ข้อ, แบบ) โดยในพระบาลีใช้คำว่า อปิจ(อะปิจะ – อีกอย่างหนึ่ง) เป็นเครื่องหมายในการแบ่งสติปัฏฐาน 4 อย่างลงไปอีก รวมทั้งสิ้น 21 บรรพะ เริ่มที่อานาปานบรรพะและไปสิ้นสุดที่สัจจบรรพะ.
อนึ่ง ข้อน่าสังเกต คือ ฉ. ฉัฏฐสังคายนาของพม่า สติปัฏฐานสูตร ในมัชฌิมนิกาย ชื่อของพระพุทธพจน์จะใช้ มหาสติปัฏฐานสูตร ส่วนในอรรถกถาจะใช้แค่สติปัฏฐานสูตร. เมื่อตรวจสอบกับที่อื่นๆ ในอรรถกถาก็พบว่า เมื่อสุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกายอ้างถึงมหาสติปัฏฐานสูตรว่าจะอธิบายในสูตรนี้ ท่านก็จะใช้คำว่า “มหาสติปฏฺฐานสุตฺต”. แต่ถ้าเป็นปปัญจสูทนี อรรถกถาของมัชฌิมนิกาย เวลาอ้างท่านจะใช้แค่ว่า “สติปฏฺฐานสุตฺต” ไม่ใช่ “มหาสติปฏฺฐานสุตฺต”. ซึ่งเป็นอย่างนี้ทั้งในอรรถกถาและฏีกาของทั้ง 2 คัมภีร์ และตรงกันทั้ง ฉบับไทย ทั้ง ฉบับพม่า. จึงมีความเป็นไปได้ว่า ท่านใช้ชื่อสติปัฏฐานสูตรกับมหาสติปัฏฐานสูตร ตามแบบที่ไทยใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ โดยแยกอย่างนี้มาตั้งแต่โบราณแล้ว.
ส่วนสติสัมปชัญญะที่ตามดู จะอยู่หลังอนุปัสสีและอิติศัพท์ ซึ่งส่วนนี้ของแต่ละบรรพะจะให้ตามดูอารมณ์กรรมฐานนั้นๆ ทั้งของตนเองและของผู้อื่น แต่ตอนจบจะเหมือนกัน คือ ภังคญาณที่พิจารณาอริยสัจในสติดวงที่เพิ่งดับไปหลังทำกรรมฐานในอารมณ์ที่แสดงไว้ในส่วนแรกของบรรพะ. เพราะอิริยาบถทั้งน้อยและใหญ่ไม่ใช่สัมมสนรูป จึงไม่ใช่อารมณ์ของวิปัสสนา, นิวรณ์เป็นปหาตัพพธรรม ควรข่มให้ได้ก่อน ไม่ใช่มัวแต่สัมมสนะ แล้วปล่อยให้นิวรณ์เกิด, ส่วนโพชฌงค์ในที่นี้ท่านหมายถึงโลกิยโพชฌงค์ ซึ่งถ้าหากกำหนดให้เบื่อหน่ายแล้วก็จะไม่คิดเจริญต่อ ฉะนั้นจึงไม่ควรกำหนดตั้งแต่แรก. 17. นีวรณบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยการหาเหตุเกิดและเหตุดับของนิวรณ์ เพื่อดับนิวรณ์ทั้งปวงโดยการทำสมถะเข้าฌาน แล้วทำให้ไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปด้วยการทำปริญญากิจตามขันธบรรพะ. บรรพะนี้และบรรพะที่เหลือเหมาะสำหรับวิปัสสนายานิก เพราะไม่สามารถถบรรลุอัปปนาได้ เนื่องจากการหาเหตุเกิดความดับไม่ใช่ทำให้ได้อัปปนา. 15.
อย่างไรก็ตาม มหาอรรถกถามองว่าอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะใช้ประกอบกับบรรพะอื่นๆ ไม่ใช่อารมณ์ที่ต้องท่องจำเพื่อนำมาใช้ทำวิปัสสนากรรมฐานโดยตรง เพราะอิริยาบถใหญ่น้อยเป็นอสัมมสนรูป (รูปที่ไม่เหมาะทำวิปัสสนา), แต่จัดว่าเหมาะกับวิปัสสนายานิกเพราะอสัมโมหสัมปชัญญะในสัมปชัญญบรรพะนั้นใช้ศัพท์ว่า ปชานาติ, ซึ่งเป็นศัพท์เดียวกับวิปัสสนาบรรพะส่วนใหญ่ มหาอรรถกถาจึงอธิบาย 2 บรรพะนี้ โดยใช้เนื้อหาในวิปัสสนาบรรพะอื่นมาทำฆนวินิพโภคะ 2 บรรพะนี้เพื่อให้ได้นามรูปปรมัตถ์มาทำวิปัสสนา. ในสติปัฏฐานสูตรจะเน้นให้พิจารณาทั้งสิ่งที่เป็นของตนและของคนอื่นเพราะมี ข้อความว่า “พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ-เป็นผู้หมั่นพิจารณากายในกายอยู่” อยู่ในทุกบรรพะทั้ง 21 บรรพะเลยทีเดียว ซึ่งพระอรรถกถาและพระฏีกาจารย์ก็ย้ำไว้อีกในอรรถกถาของทุกบรรพะเช่นกันว่า “พิจารณาภายนอก หมายถึง ของคนอื่น”. คำนี้ก็สอดคล้องกับสูตรทั่วไป เช่นที่เรามักได้ยินคำว่า “รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ภายใน ภายนอก หยาบ ละเอียด เลว ประณีต ไกล ใกล้” เป็นต้น. ในอรรถกถาและฏีกาท่านอธิบายคำว่า เอกายนมรรค ไว้ว่า หมายถึง ทางมุ่งสู่พระนิพพานอย่างเดียว. ซึ่งจากคำอธิบายและตัวอย่างในฏีกานั้น ทำให้ทราบได้ว่า เอกายนมรรคอาจจะมีข้อปฏิบัติหลายอย่างได้ เช่น ในสติปัฏฐานสูตรก็มีกรรมฐานถึง 21 ข้อ ในสัมมาทิฏฐิสูตรก็มีกรรมฐานถึง 32 ข้อ เป็นต้น. อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร ในทีฆนิกายนั้น บางบรรพะ เช่น อรรถกถาของสัมปชัญญบรรพะ เป็นต้น จะมีขนาดสั้นกว่า อรรถกถาของสติปัฏฐานสูตร ในมัชฌิมนิกาย เพราะท่านได้อธิบายไว้ก่อนแล้วในอรรถกถาของสามัญญผลสูตรเป็นต้น ท่านจึงไม่กล่าวซ้ำอีก.
18. ขันธบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยการหาเหตุเกิดและเหตุดับของขันธ์ทั้งปวง เพื่อดับขันธ์ทั้งปวงโดยไม่มีส่วนเหลือด้วยการทำสมุจเฉทปหานในเหตุเกิดและเหตุดับ คือ อวิชชาสังโยชน์และตัณหาสังโยชน์ตามอายตนบรรพะ. พระมหาสิวะกับมหาอรรถกถาไม่ได้ขัดแย้งกันคำอธิบายของมหาอรรถกถาในมหาสติปักฐานสูตรมีสองแบบ คือ แบบที่อธิบายด้วยสีหวิกีฬิตนัย และแบบที่อธิบายด้วยติปุกขลนัย. สติปัฏฐานสูตร คือ พระสูตรที่กล่าวถึงวิธีเจริญสติปัฏฐาน สติปัฏฐานสูตรนี้อาจมีอยู่ในพระไตรปิฎกหลายที่แล้วแต่ท่านจะตั้งชื่อ แต่ที่นิยมเอามาพูดถึง จะอยู่ในพระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ กล่าวถึงวิธีเจริญสติปัฏฐาน 21 บรรพะเหมือนในทีฆนิกายนั่นเอง. 19. อายตนบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานด้วยการหาเหตุเกิดและเหตุดับของสังโยชน์ เพื่อทำให้สังโยชน์ทั้งปวงเกิดไม่ได้อีกต่อไป ด้วยการทำภาเวตัพพกิจตามโพชฌังคบรรพะ.
สรุปว่า อารมณ์เหมาะกับสมถยานิก แต่ก็สามารถนำไปทำวิปัสสนาได้เช่นกัน. อิริยาปถบรรพะ – แสดงวิธีการทำกรรมฐานที่เรียนมาใดๆ ทั้งสมถะและวิปัสสนาให้ต่อเนื่องทุกอิริยาบถใหญ่ทั้ง four อิริยาบถ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน. กล่าวคือ เมื่อเรียนกรรมฐานมีอานาปานัสสติเป็นต้นแล้ว ก็ให้บริหารให้เจริญขึ้นต่อเนื่องอยู่ตลอดทั้งอิริยาบถใหญ่และอิริยาบถย่อย. อานาปานบรรพะ – แสดงวิธีทำกรรมฐานด้วยการตามดูลมหายใจ หรือ ที่เรียกว่า อานาปานสติ โดยพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้อย่างย่อเฉพาะฝ่ายสมถะ four ข้อ จาก 16 ข้อ ในอานาปานัสสติสูตร.