นั่งอยู่ในสำนักผู้ใหญ่ไม่ลุกรับผู้น้อยกว่าท่าน นั่งเข้าแถวในบ้าน เข้าประชุมสงฆ์ ในอารามไม่ลุกรับท่านผู้ใดผู้หนึ่ง ฯ๓. ปัญหาวิชาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชันเอก้ สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ที่๒๙พฤศจิกายนพุทธศักราช๒๕๕๘ ๑. พระพุทธองค์ทรงปฏิ… ปัญหาวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันโท สอบในสนามหลวง วันอังจันทร์ที่๓๐พฤศจิกายนพุทธศักราช๒๕๕๘ ๑.
ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง … การแสวงหาเป็นปัณณัตติวัชชะ มีโทษทางพระบัญญัติ ฯ๓. ทรงห้ามในกรณีทา เพื่อให้ดูสวยงาม และ ทรงอนุญาตในกรณีทา เพื่อรักษา ฯ๔. การปฏิบัติตนต่อศาสนสถาน • การปฏิบัติตนต่อวัด กา… ‧ ติวเข้มเตรียมสอบธรรมสนามหลวง.
พุทธทาส คอม
รู้จักอาบัติ มิใช่อาบัติ อาบัติเบา อาบัติหนัก จำพระปาฏิโมกข์ได้แม่นยำทั้งมีพรรษาพ้น ๕ ฯ๕. อาจจะผิดหรือไม่ผิดแล้วแต่กรณี ในกรณีที่ไม่มีจีวร เช่นจีวรถูกไฟไหม้ ถูกโจรชิงไปหมด นุ่งห่มผ้าของคฤหัสถ์ได้ ห้ามมิให้เปลือยกาย ถ้าไม่ปกปิด ต้องอาบัติทุกกฏ แต่ถ้าไม่มีเหตุแล้วนุ่งห่มต้องอาบัติทุกกฏ ฯ๕. แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง ฯ คือ อาทิพรหมจาริยาสิกขา ๑ อภิสมาจาร ๑ ฯ๒. ถือเสนาสนะแล้วอย่าดูดาย เอาใจใส่ชำระปัดกวาดให้หมดจดจัดตั้งเครื่องเสนาสนะให้เป็นระเบียบ ฯ๕. ภิกษุกระสับกระส่าย เพราะมีเวทนากล้าจนถึงไม่มีสติ ฯ๗. ปรับอาบัติถุลลัจจัยเป็นอย่างสูง แต่มีน้อย ส่วนมากปรับอาบัติทุกกฏเป็นพื้น ฯ๕.
เล่นอย่างเด็ก เล่นคะนอง เล่นพนัน เล่นปู้ยี่ปู้ยำ เล่นอึงคะนึง จัดเป็นอนาจาร ฯ๔. สัตตาหกาลิก คือ เภสัช ๕ ที่รับประเคนแล้วเก็บไว้บริโภคได้ ๗ วัน ฯ๓. อุปัชฌายวัตร สัทธิวิหาริกพึงทำแก่อุปัชฌาย์ ส่วน สัทธิวิหาริกวัตร อุปัชฌาย์พึงทำแก่สัทธิวิหาริก ฯ๓. ปัจฉิมิกาวัสสูปนายิกา วันเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ ฯ๒.
All rights reserved. เช่นยาผง เป็นยาวชีวิกคลุกกับน้ำผึ้งที่เป็นสัตตาหกาลิก ต้องถืออายุ ๗ วัน เป็นเกณฑ์ ฯ๔. ยาวชีวิก ได้แก่ของที่ให้บริโภคได้เสมอไป ไม่มีจำกัดกาล ฯ๓.
ภิกษุผู้ปฏิบัติพระวินั… ต่างกันอย่างนี้ บุพพกรณ์เป็นกิจที่ภิกษุพึงทำก่อนแต่ประชุมสงฆ์ มีกวาดบริเวณที่ประชุมเป็นต้น ส่วนบุพพกิจเป็นกิจที่ภิกษุพึงทำก่อนแต่สวดปาติโมกข์ มีนำปาริสุทธิของภิกษุผู้อาพาธมา เป็นต้น ฯ๔. คำว่า นิสัย หมายความว่า ยอมตนอยู่ในความปกครองของพระเถระผู้มีคุณสมบัติควรปกครองตนได้ ยอมตนให้ท่านปกครอง พึ่งพิงพำนักอาศัยท่าน ฯ๒. เกี่ยวกับหนวด มีข้อปฏิบัติไว้ว่า อย่าพึงไว้หนวดไว้เครา คือต้องโกนเสมอ ห้ามไม่ให้แต่งหนวดและห้ามไม่ให้ตัดหนวดด้วยกรรไกร เกี่ยวกับคิวไม่ได้วางหลักปฏิบัติไว้ แต่พระสงฆ์ไทยนิยมโกนพร้อมกับผม ฯ๓. ต้องปฏิบัติโดยสายกลาง คือไม่ถือเคร่งครัดอย่างงมงาย จนเป็นเหตุทำตนให้ลำบากเพราะเหตุธรรมเนียมเล็กๆ น้อยๆ อันขัดต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ามักง่าย ละเลยต่อธรรมเนียมของภิกษุ จนถึงทำตนให้เป็นคนเลวทราม ฯ๖. เพราะประพฤติให้เขาเสียศรัทธาเลื่อมใส คือ เป็นผู้ประจบเขาด้วยกิริยาทำตนอย่างคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย หรือด้วยอาการ เอาเปรียบโดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อยด้วยหวังได้มาก ฯ๕.
ระเบียบปฏิบัติการใช้คำพูดกับพระสงฆ์ต่างชั้น
มีภิกษุ ๑ รูป พึงอธิษฐานหรือมีภิกษุต่ำกว่า ๔ รูป จะไปทำสังฆอุโบสถกับสงฆ์ในอาวาสอื่น ก็ควร ฯ๕. ทั้งได้โอกาสเพื่อกรานกฐิน และรับอานิสงส์ ๕ นั้นเพิ่มออกไปอีก ๔ เดือนตลอดเหมันตฤดู ฯ๕. คือ กิริยาที่แสดงอาการอ่อนน้อมโดยสมควรแก่กาล สถานที่ กิจ และบุคคล ฯ๒.
- อุปัชฌายวัตร สัทธิวิหาริกพึงทำแก่อุปัชฌาย์ ส่วน สัทธิวิหาริกวัตร อุปัชฌาย์พึงทำแก่สัทธิวิหาริก ฯ๓.
- ถือเสนาสนะแล้วอย่าดูดาย เอาใจใส่ชำระปัดกวาดให้หมดจดจัดตั้งเครื่องเสนาสนะให้เป็นระเบียบ ฯ๕.
- ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง วันจันทร์ ๒๖ที่พฤศจิกายน พ.ศ.
- มีอุปัชฌายะหลีกไปเสีย๑ สึกเสีย๑ ตายเสีย๑ ไปเข้ารีตเดียรถีย์เสีย๑ และสั่งบังคับ๑ ฯ๖.
- ยาวชีวิก ได้แก่ของที่ให้บริโภคได้เสมอไป ไม่มีจำกัดกาล ฯ๓.
- แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง ฯ คือ อาทิพรหมจาริยาสิกขา ๑ อภิสมาจาร ๑ ฯ๒.
ว่า อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ ฯ๘. มีอุปัชฌายะหลีกไปเสีย๑ สึกเสีย๑ ตายเสีย๑ ไปเข้ารีตเดียรถีย์เสีย๑ และสั่งบังคับ๑ ฯ๖.
ระเบียบปฏิบัติการต้อนรับพระสงฆ์ ที่พุทธศาสนิกชนควรรู้
หมายถึงภิกษุผู้ได้พรรษา ๕ แล้วและมีคุณสมบัติพอรักษาตนได้เมื่ออยู่ตามลำพัง ทรงอนุญาตให้พ้นจากนิสัย ฯ๔. ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง วันอังคาที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ . ภิกษุผู้ปรารถนาความตั้งอย…
ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง วันจันทร์ ๒๖ที่พฤศจิกายน พ.ศ. นักธรรมชั้นตรี [ ๑๕-๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ] (สำหรับพระภิกษูสงฆ์และสามเณรเท่านั้น) วันศุกร์ที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. การเดิน ตามปกติทุกคนจะเดินตามถนัดของตนที่ได้รับการ , ฝึกฝนมาตั้งแต่เล็กแม้ว่าจะเป็นเรื่องปกติธรรมดาของแต่ละคน แต่การเดินที่ถูกต้องควรเดิ… ปฏิบัติอย่างนี้ คือ ถ้าภิกษุผู้เข้ามาใหม่มีจำนวนมากกว่า ต้องเริ่มสวดใหม่ตั้งแต่ต้น ถ้ามีจำนวนเท่ากันหรือน้อยกว่า ส่วนที่สวดไปแล้วก็ให้เป็นอันสวดแล้ว ให้เธอผู้มาใหม่ฟังส่วนที่ยังเหลือต่อไป ฯ๓.
คือ การบอกให้โอกาสแก่ภิกษุทั้งหลายเพื่อปรารถนาตักเตือนว่ากล่าวตนได้ ฯ มีพระพุทธานุญาตให้ทำในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นวันเต็ม ๓ เดือนแต่วันจำพรรษา ฯ๒. ปัญหาวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันโท สอบในสนามหลวง วันเสาร์ที๑๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๕๙ ๑. อภิสมาจารคืออะไ… เปลือยกายทำกิจแก่กัน เช่น ไหว้ รับไหว้ ทำบริกรรม ให้ของรับของและเปลือยกายในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ๒. ผลงานนี้ ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุบาสกผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล เป็นอุบาสกแก้ว อุบาสกปทุม อุบาสกบุณฑริก. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุบาสกผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล เป็นอุบาสกผู้เลวทราม เศร้าหมอง และน่าเกลียด. ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง วันศุกร์ ที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ญัตติ กับ อนุสาวนา … ของใช้สำหรับเสนาสนะหนึ่งอย่านำไปใช้ที่อื่นให้กระจัดกระจาย ฯ๖.