ล่าสุดลักษณะ เด่น ของ พระ อัส ส ชิ ที่ ทำให้ อุป ติ ส...

ลักษณะ เด่น ของ พระ อัส ส ชิ ที่ ทำให้ อุป ติ ส ส ปริพาชก เกิด ความ ประทับใจ คือ อะไร

ต้องอ่าน

ทูลถามต่อไปตามแนวทิฏฐิ ๑๐ ที่เกี่ยวด้วยส่วนสุดว่า ถ้าอย่างนั้น โลกเที่ยงหรือไม่เที่ยง , โลกมีที่สุด หรือไม่มีที่สุด , ชีวะ กับสรีระ เป็นอันเดียวกัน หรือเป็นคนละอัน, สัตว์๒. ตายแล้วเกิดหรือไม่เกิด, สัตว์ตายแล้วทั้งเกิดทั้งไม่เกิด หรือว่าเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่. ( แบ่งออกเป็น ๕ หมวด หมวดละ ๒ ข้อ จึงเป็น ๑๐) ตรัสตอบเป็นข้อ ๆ ว่า พระองค์ไม่ทรงพยากรณ์ ๓. ปัญหานั้น เพราะไม่มีประโยชน์ ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน.

ลักษณะ เด่น ของ พระ อัส ส ชิ ที่ ทำให้ อุป ติ ส ส ปริพาชก เกิด ความ ประทับใจ คือ อะไร

รตนสูตร เป็นบทสวดพรรณนาคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และอ้างสัจจวาจา อำนวยสวัสดิมงคล. ตรัสว่า ละธรรม ๓ อย่างไม่ได้ คือความไม่ละอาย, ความไม่เกรงกลัวต่อบาป, ความประมาท ก็ไม่ควรจะละความไม่เอื้อเฟื้อ, ความว่ายาก, การคบคนชั่วเป็นมิตรได้. ตรัสว่า ละธรรม ๓ อย่างไม่ได้ คือความไม่เอื้อเฟื้อ, ความว่ายาก, การคบคนชั่วเป็นมิตร ก็ไม่ควรจะละความไม่มีศรัทธา, ความไม่รู้คำที่คนอื่นพูด, ความเกียจคร้านได้. ตรัสถึง ปัจจัย ๔, คามนิคม, ชนบท, ประเทศ, บุคคลว่า มี ๒ อย่าง คือที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ โดยมีเหตุผลว่า ถ้าเสพเข้า อกุศลธรรมเจริญ กุศลธรรมเสื่อม ก็ไม่ควรเสพ ถ้าอกุศลธรรมเสื่อม กุศลธรรมเจริญ ก็ควรเสพ. พระสาริบุตรกับพระอานนท์ ต่างแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงโทษของความ เป็นผู้ทุศีลและอานิสงส์ของความเป็นผู้มีศีลฝ่ายละ ๑๐ ข้อ.

ติดต่อเรา

“ ฉะนั้นของปฏิกูลนี้เราต้องสลัดออก ถามว่าสลัดออกแล้วไปให้คนอื่นเขาเอาไหม ไม่มีใครอยากเอา ไม่มีใครอยากได้ ฉะนั้นเมื่อไม่มีใครอยากได้ ของมันเน่าทับถมอยู่ในกาย อยู่ในจิตเรา มากี่ภพมากี่ชาติ โทสะจริต โมหะจริต ราคะจริต วิตกจริต สัทธาจริต มันสะสมหมักหมมมากี่ชาติ ความอิจฉาริษยา ความโ…อ่านต่อ… เวลาคือนาทีทองของชีวิต เมื่อเราเสียสละเวลามาปฏิบัติธรรมแล้ว เราก็ควรทำให้เต็มที่ในเวลาปฏิบัติ ไม่ให้เสียเวลา เพราะเวลาเป็นเงินเป็นทอง เวลาคือนาทีทองของชีวิต เราเกิดเเป๊ปเดียว เราตาย บอกไม่ได้ ว่าเวลาไหนเราจะตาย มันไว เพราะความตายเปรียบเหมือน เงาติดตามตัวเราตลอดเวลา โอวาทธรร…อ่านต่อ… เมื่อเรามีกำลังใจเต็ม มีความพร้อมของจิตใจที่เต็มเปี่ยมในการให้แล้ว ก็สามารถสละสิ่งของที่ตนมีแก่ผู้อื่นได้ เราสามารถให้สิ่งของที่เราหวงแหน สิ่งที่เรารักที่สุด สามารถแบ่งปันให้แก่คนอื่นได้ เพราะมันมีกำลังใจ มีความพร้อมในใจแล้วว่า ฉันพร้อมแล้ว ที่จะยกให้เธอไป นั่นคือกำลังของใ…อ่านต่อ… ประโยชน์ของวิปัสสนา ๒๘ ข้อ ๑. ทำให้เป็นคนฉลาดเฉลียว ๒. ทำให้เป็นคนรู้จักปรมัตถธรรม ๓.

ลักษณะ เด่น ของ พระ อัส ส ชิ ที่ ทำให้ อุป ติ ส ส ปริพาชก เกิด ความ ประทับใจ คือ อะไร

พระผู้มีพรพภาคทรงรับโดยดุษณีภาพ. ท้าวเวสสวัณจึงกล่าวการรักษา ๔ . ชื่ออาฏานาฏิยา.

ประวัติแห่งอนุพุทธ ๘๐ พระองค์

พระเถระกล่าวว่า เปรียบเหมือนโจรที่ทำผิดราชบุรุษจับได้ ก็นำตระเวนไปสู่ที่ประหารชีวิต โจรเหล่านั้นจะขอผัดผ่อนให้ไปบอกพวกพ้องก่อนจะได้หรือไม่ ตรัสตอบว่า ไม่ได้. พระเถระจึงกล่าวว่า พวกที่ทำชั่วก็เช่นกัน ถ้าไปตกนรก ก็คงไม่ได้รับอนุญาตจากนายนิรยบาลให้มาบอก. ทรงสั่งลดการเข้าเฝ้าให้น้อยลง ( เพื่อทรงมีเวลาอบรมทางจิตใจได้มากขึ้น ) ภายหลังพระราชเทวีพระนามว่า สุภัททา สั่งจัดจตุรังคินีเสนา ( ทัพช้าง ทัพม้า ทัพรถ ทัพเดินเท้า ) ซึ่งขุนพลแก้วก็จัดให้ พระนางเดินทางไปเฝ้าพระเจ้ามหาสุทัสสนะ ขอให้ทรงเห็นแก่สมบัติ เห็นแก่ชีวิต .

ลักษณะ เด่น ของ พระ อัส ส ชิ ที่ ทำให้ อุป ติ ส ส ปริพาชก เกิด ความ ประทับใจ คือ อะไร

วิญญาณ. ตรัสถึงภิกษุผู้หลีกออกจากหมู่ บำเพ็ญเพียรจนได้บรรลุรูปฌาน, อรูปฌาน, และสัญญาเวทยิตนิโรธ เหมือนพญาช้างใหญ่ในป่าปลีกตัวจากหมู่ อยู่ตามลำพังฉะนั้น. ที่มีทางดีเด่นกว่ากันและกัน ฝ่ายละ ๓ ข้อ คือมนุษย์ชาวอุตตรกุรุทวีปเป็นผู้ไม่มีความยึดถือว่าของเรา, ไม่มีความหวงแหน, มีอายุแน่นอน ; เทพชั้นดาวดึงส์มีอายุ, วรรณะ, สุข, อันเป็นทิพย์ ; มนุษย์ชาวชมพูทวีปมีความแกล้วกล้า, มีสติ, ประพฤติพรหมจรรย์อันยิ่ง.

๕ ๕ ติสรณคมณปาฐํ

ทรงแสดงทุกข์ของสมณะ ๕ อย่าง คือไม่สันโดษด้วยปัจจัย ๔ กับ ประพฤติพรหมจรรย์อย่างไม่ยินดี ส่วนสุขของสมณะตรงกันข้าม. ทรงแสดงการอยู่เป็นสุข ๕ อย่าง คือเข้าฌานที่ ๑ ถึงที่ ๔ และทำให้ แจ้งเจโวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะ. แล้วทรงแสดงการพยากรณ์ ( อ้างว่าได้บรรลุ ) อรหัตตผล ๕ อย่าง คือ พยากรณ์เพราะโง่เขลา, ปรารถนาลามกจึงพยากรณ์, พยากรณ์เพราะเป็นบ้า, พยากรณ์ด้วยเข้าใจผิดว่าได้บรรลุ, พยากรณ์ โดยชอบ ( คือได้บรรลุจริง ).

  • ครั้นได้โอกาส ท้าวสักกะพร้อมด้วยบริวารก็เข้าไปเฝ้า เมื่อได้ตรัสสัมโมทียกถาพอสมควรแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงให้ท้าวสักกะกราบทูลถามปัญหาได้ ต่อไปนี้เป็นคำถามและพระพุทธดำรัสตอบ.
  • พระ ตถาคตเป็นเลิศสัตว์ทั้งหลาย ๒.
  • ไตร่ตรองโดยแยบคาย ๔.
  • จึงปรากฏเพศหญิงเพศชาย.
  • ถ้าตรงกันข้ามก็เป็นสมัยอันสมควร.
  • ตรัสว่า นางภิกษุณีประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมตกนรกหรือขึ้นสวรรค์ เหมือนถูกนำไปตั้งไว้ คือตระหนี่อาวาส, ตระหนี่สกุล ( ไม่อยากให้สกุลที่เกี่ยวข้องกับตนอุปการะผู้อื่น ), ตระหนี่ ลาภ, ตระหนี่ความดี ( ทนฟังเขาสรรเสริญผู้อื่นไม่ได้ ), ตระหนี่ธรรม ( ไม่สอนธรรมแก่ผู้อื่น ) หรือตรงกันข้าม.

โมริยกษัตริย์ได้ขอรับพระอังคาร ( เถ้าถ่าน ) ไปบรรจุเป็นอังคารสตูป. นอกจากนั้นยังแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับพระเขี้ยวแก้ว พระทนต์ พระเกศ พระโลมา และพระพุทธบริขารต่าง ๆ . รตนจังกมนกัณฑ์ หมวดว่าด้วยที่จงกรมแก้ว เป็นคำฉันท์พรรณนาเหตุการณ์ เมื่อเสด็จไปโปรดพระพุทธบิดา ณ กรุงกบิลพัสดุ์ ตรัสแสดงธรรมเรื่องเวสสันดรชาดก เสร็จแล้วจึงทรงนิรมิตเรือนแก้วเสด็จจงกรม แสดงปาฏิหาริย์ให้เห็นว่าทรงบำเพ็ญบารมีต่าง ๆ มาในอดีตกาลอย่างไร. อิทธิ ( ฤทธิ์หรือความสำเร็จ ) บทตั้งเป็นของพระสาริบุตร แสดงความหมายของคำว่า ฤทธิ์ ( คือความสำเร็จ ) แสดงฤทธิ์ ๑๐ อย่าง คือ ๑. ฤทธิ์อันเกิดจากการอธิฐาน ๒. ฤทธิ์เกิดจากการบันดาล ( วิกุมพพนา ) ๓.

ลักษณะ เด่น ของ พระ อัส ส ชิ ที่ ทำให้ อุป ติ ส ส ปริพาชก เกิด ความ ประทับใจ คือ อะไร

มีไฟป่าเกิดขึ้นในฤดูร้อน ลามเข้ามา. มารดาบิดาของเราตกใจกลัวไฟ จึงทิ้งเราไว้ในรัง เอาตัวรอด เราจึงทำสัจจกริยา อ้างคุณของศีล ระลึกถึงกำลังคือธรรมะ และพระชินะในกาลก่อน ไฟป่าก็หยุดอยู่ เว้นเนื้อที่ ๑๖ กรีส ( ๑ กรีสมากกว่า ๑ ไร่ ) นี้เป็นสัจจบารมีของเรา. ในสมัยเมื่อเราเป็นกระต่าย กินหญ้า กินใบไม้ และผลไม้เป็นอาหาร เว้นจากการเบียดเบียนผู้อื่น มีสหายอีก ๓ อยู่ร่วมกัน คือลิง สุนัขจิ้งจอก และนาก เราสั่งสอนสหายให้เว้นความชั่ว ประพฤติความดี. ท้าวสักกะปลอมเป็นพราหมณ์มาขออาหาร เพื่อจะทดลองเรา, เราจึงให้ก่อไฟขึ้น แล้วกระโดดเข้าไปในไฟ เพื่อให้เป็นอาหารของพราหมณ์นั้น ( แต่กลับเย็นสบายไม่รู้สึกร้อนเลย ในที่สุดท้าวสักกะก็แสดงตน และให้ความสุขแก่สัตว์ทั้งสี่นั้นด้วยเทวานุภาพ ). ในครั้งนั้น ข้าพเจ้า ( พระมหาโกฏฐิตะ) เป็นพราหมณ์ผู้ถึงฝั่งแห่งพระเวทในกรุงหังสวตี ได้เข้าไปเฝ้าพระปทุมุตตรศาสดา ฟังธรรม.

ต่อไปได้แสดงตัวอย่างแห่งความปรารถนาของภิกษุซึ่งเกิดขึ้นในทางที่ผิด รวม ๑๓ ตัวอย่าง พร้อมทั้งเกิดความโกรธ ความไม่พอใจตามมาด้วย แล้วสรุปในท้ายของทุกข้อว่า ความโกรธ และความไม่พอใจทั้งสองอย่างนั้น เป็นอังคณะ ( กิเลสที่เปรียบเหมือนเนิน ). ตัวอย่างแห่งความปรารถนา ๑๓ ข้อ เช่น ภิกษุต้องอาบัติ ก็ปรารถนาให้ภิกษุอื่นอย่ารู้เรื่องเป็นข้อแรก ปรารถนาให้ตนเท่านั้นได้ลาภ ภิกษุอื่นอย่าได้ลาภ เป็นข้อสุดท้าย ครั้นไม่สมปรารถนาก็เกิดความโกรธ ทั้งความปรารถนาและความโกรธนั้นจัดเป็นอังคณะ ( กิเลส ) ด้วยกันทั้งสองอย่าง. ต่อจากนั้นเสด็จสู่หัตถิคาม , อัมพคาม และโภคนคร โดยลำดับ ณ โภคนคร ทรงแสดงมหาปเทส ( หลักอ้างอิงสำหรับสอบสวนข้ออ้างของผู้อื่นที่ว่า เป็นธรรมเป็นวินัย เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ) ๔ ประการ โดยให้สอบกับพระสูตรเทียบกับพระวินัยก่อน. พระเวสสภูพุทธเจ้าทรงสมภพในกุลกษัตริย์ ในกัปป์ที่ ๓๑ ก่อนหน้ากัปป์ปัจจุบันนี้ มีพระนามโดยพระโคตรว่า โกณฑทัญญะ มีประมาณแห่งอายุ ๖ หมื่นปี ตรั้สรู้ที่โคนไม้สาละ มีคู่แห่งอัครสาวกนามว่าโสณะกับอุตตระ มีการประชุมสาวก ๓ ครั้ง . การประชุมสาวกมีภิกษุ ๘ หมื่นรูปครั้งหนึ่ง ๗ หมื่นรูปครั้งหนึ่ง ๖ หมื่นรูปครั้งหนึ่ง ล้วนเป็นพระขีณาสพทั้งสามครั้ง. มีภิกษุเป็นยอดพุทธอุปฐาก ชื่ออุปสันตะ.

๒๙ ชะเอม แก้วคล้าย, จำลอง สารพดั นกึ , สขุ าวดีวยูหสูตร, หน้า ๘๖. ๒๗ ชะเอม แกว้ คล้าย, จำลอง สารพัดนกึ , สุขาวดีวยูหสตู ร, หน้า ๒๐. ๑๘ ชะเอม แก้วคล้าย, จำลอง สารพดั นกึ , สขุ าวดีวยูหสูตร, หน้า ๙๖.

ราชกุมารตรัสว่า เป็นไปไม่ได้ที่ภิกษุผู้ไม่ประมาทบำเพ็ญเพียรจะบรรลุความเป็นผู้มีจิตอารมณ์เป็นหนึ่ง. สามเณรจึงนำความมากราบทูลพระผู้มีพระภาค. พระองค์ตรัสว่า ชยเสนราชกุมารอยู่ในท่ามกลางกาม ที่จะรู้เห็นถึงสิ่งที่พึงรู้พึงเห็นได้ด้วยเนกขัมมะ ( การออกจากกามนั้น ) ย่อมเป็นไปไม่ได้. ภิกษุทั้งหลายสนทนากันถึงเรื่องที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กายคตาสติ ( สติกำหนดพิจารณากาย ) ที่เจริญ ทำให้มากแล้ว มีผลมาก มีอานิสงส์มาก พระผู้มีพระภาคเสด็จมาตรัสถามทราบความจึงทรงแสดงรายละเอียด ( แบบที่ทรงแสดงในมหาสติปัฏฐานสูตร ( ดูที่พระสุตตันตะ เล่ม ๒ หน้า ๔). ในหัวข้อ๙. มหาสติปัฏฐานสูตร คือ การกำนหนดพิจารณากายแบ่งออกเป็น ๖ ส่วน คือ ๑.

บทความล่าสุด