ในรัชสมัยนี้การแพทย์แผนตะวันตกแพร่หลายเข้ามาจากเหล่ามิชชันนารี และกลุ่มหมอที่เป็นชาวฝรั่งมากกว่า พระองค์จึงทรงมีพระราชหัตถเลขาแสดงความห่วงใยเอาไว้ในปี พ.ศ.2433 เนื่องจากทรงโปรดการแพทย์แผนไทยมากกว่า ซึ่งคัดมาตอนหนึ่งที่เป็นส่วนสำคัญว่า “…ขอเตือนว่าหมอฝรั่งนั้นดีจริง แต่ควรให้ยาไทยสูญหรือหาไม่ หมอไทยควรจะไม่ให้มีต่อไปภายหน้า หรือควรมีไว้บ้าง ถ้าว่าส่วนตัวฉันเองสมัคกินยาไทย แลยังวางใจหรืออุ่นใจในหมอไทยมาก ถ้าหมอไทยจะรักษาแบบฝรั่งหมด ดูจะเยือกเย็นเหมือนเหนอื่น ไม่เหนพระเหนสงฆ์เลยเหมือนกัน แต่ตัวฉันอายุมากแล้ว เหนจะไม่ได้อยู่จน เหนหมอไทหมดดอก คนภายหน้าจะพอใจอย่างฝรั่งกันทั่วไป จะไม่เดือดร้อนเช่นฉันดอกกระมัง เป็นแต่ลองเตือนดูตามหัวเก่า ๆ ทีหนึ่งเท่านั้น…” 2091 ท้าวศรีสุดาจันทร์ทรงอ้างว่าสมเด็จพระยอดฟ้ายังทรงพระเยาว์ หัวเมืองฝ่ายเหนือก็ไม่เป็นปกติจึงปรึกษากับขุนนางว่าจะให้ให้ขุนวรวงศาธิราชชู้รักว่าราชการแผ่นดินจนกระทั่งสมเด็จพระยอดฟ้าทรงเจริญพระชันษา ภายหลังจึงปลงพระชนม์โอรสของตนเอง แล้วจึงทำพิธีราชาภิเษกขุนวรวงศาธิราชเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาและสถาปนานายจัน ผู้เป็นน้องชายอยู่บ้านมหาโลก ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช…. นิราศนครวัด เป็นพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อครั้งเสด็จกรุงกัมพูชาเป็นการส่วนพระองค์ ระหว่างวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน – ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๗ ในขณะที่ทรงมีพระชนมายุ ๖๒ พรรษา และเป็นนิราศโบราณเรื่องเดียวที่แต่งคำประพันธ์เป็นร้อยแก้ว โดยมีกลอนนิราศนครวัดอยู่ตอนต้นเรื่องเป็นเสมือนคำนำของหนังสือ ที่บอกเล่าถึงการเสด็จไปเยือนกัมพูชาครั้งนั้น …
ตำราแพทย์แผนโบราณ วิชาหมอนวด – โยคะศาสตร์ และตำรา เภสัชกรรม ราคา ๓๐ บาท จัดเก็บโดย หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร ๑๐ มิถุนายน ๒๕๑๗ ตำราแพทย์แผนโบราณเล่มนี้เรียบเรียงโดย ร.อ. ขุนโยธาพิทักษ์ ( แท่น ประทีปะจิตติ ) ซึ่งเคยเป็นนายแพทย์ประจำกระทรวงกลาโหม ครั้งในสมัยพระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระพุทธเจ้า หลวง) เป็นนายแพทย์ที่มีความสามารถมาก ได้ทำการรักษาข้าราชการ ประชาชนในสมัยนั้นเป็นจำนวนมาก จนปรากฎเกียรติประวัติ เป็นที่รู้จัก กันทั่วไป ทั้งยัง ดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์สอนวิชาแพทย์ไทยแผน โบราณ ให้แก่ผู้สนใจ ในด้านหมอแผนโบราณเป็นจำนวนมาก… ต่อมาในรัชกาลที่ four แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชหัตถเลขาภาษาอังกฤษไปถึงเซอร์จอห์น บาวริ่ง ที่เคยเป็นราชทูตอังกฤษเข้ามาใน พ.ศ.2398และมีความสัมพันธ์สนิทสนมกันเป็นการส่วนพระองค์ ทรงขอให้หาหนังสือที่เกี่ยวกับราชทูตฝรั่งเศสเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมาถวาย และทรงกล่าวถึงเรื่องที่เจ้าพระยาโกษาปานไปฝรั่งเศสไว้เช่นกัน.
พระมหากษัตริย์
“….ยาทิพกาศ ให้เอายาดำ เทียนดำ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน พิมเสน สิ่งละส่วน การบูร ๔ ส่วน ฝิ่น ๘ ส่วน ใบกัญชา ๑๖ ส่วน สุราเป็นกระสาย บดทำแท่ง น้ำกระสายใช้ให้ชอบโรคร้อนแลเย็น กินพอควร แก้สารพัดทั้งหลายอันให้ระส่ำระสายกินเข้ามิได้ นอนมิหลับ ตกบุพโพโลหิต ลงแดง หายแลฯ….” พงศาวดารไทยฉบับหลวงประเสริฐก็กล่าวไว้เพียงว่า…”เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091″… 14 ที่พระราชวังแวร์ซายส์ เมื่อเดินทางกลับกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. เนื่องจากพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐเขียนขึ้นในปี พศ.2223 และพระศรีสุริโยทัยนั้นสิ้นพระชนม์ในปี พศ. 2091 ระยะเวลาของเหตุการณ์ห่างจากการจดบันทึกถึง 132 ปี…. ข่าวสดประชาชาติธุรกิจสุดสัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเทคโนโลยีชาวบ้านเส้นทางเศรษฐีสำนักพิมพ์มติชนศูนย์ข้อมูลมติชนมติชนอคาเดมีKhaosod EnglishMatichon Investor Relationร่วมงานกับเรา.
2155 ตรงกับสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม โดยต้องการเจริญสัมพันธไมตรีและการค้ากับไทย แต่การค้าของอังกฤษไม่ค่อยประสบผลสำเร็จมากนัก ถึงแม้ว่าสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจะทรงให้อังกฤษเข้ามาค้าขายเพื่อถ่วงดุลอำนาจของฮอลันดาก็ตาม ในปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อังกฤษมีเรื่องบาดหมางกับไทย เพราะอังกฤษไม่พอใจออกญาวิไชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ขุนนางไทยเชื้อสายกรีก จึงมีอำนาจควบคุมพระคลังสินค้า อังกฤษกล่าวหาว่าออกญาวิไชเยนทร์ทำการค้าแข่งกับอังกฤษ ในที่สุดเกิดสงครามระหว่างไทยกับอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. ซึ่งสามารถตีความได้ว่า พระสุริโยทัยผู้เป็นเชื้อสายราชวงศ์สุโขทัยกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์น่าจะมีความสัมพันธ์ทางสายเลือดต่อกัน..หรืออาจเป็นพี่น้องร่วมท้องกัน..หรือลูกพี่ลูกน้องกันอยู่..ซึ่งเมื่อผู้เป็นพี่สาวได้เป็นพระสนมของพระไชยราชา ผู้เป็นน้องสาวก็ได้เป็นพระชายาของพระเฑียรราชาผู้เป็นน้องชายของพระไชยราชาจากการชักนำของพี่สาว…ก็อาจเป็นได้…นี่คือการตีความแล้วขุนพิเรนทรเทพ เองนั้นมีความเป็นไปได้ที่จะรู้จักมักคุ้นกับทั้งสองพี่น้องตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่หัวเมืองเหนือด้วยกัน…หรืออาจเป็นไปได้ที่คนทั้งคู่อาจมีใจให้กันและกันมาก่อน ก่อนที่พระสุริโยทัยจะมาเป็นพระชายาของพระเฑียรราชา… หลังจากพระนครอินทร์(หลานของขุนหลวงพะงั่ว) ยกทัพจากสุพรรณบุรีมาโค่นอำนาจราชวงศ์อู่ทององค์สุดท้ายคือ พระยารามโอรสของพระราเมศวรแล้ว….ราชวงศ์สุพรรณภูมิก็ผงาดขึ้นครองบัลลังก์อยุธยาตั้งแต่บัดนั้นเรื่อยมา… “…ขอเตือนว่าหมอฝรั่งนั้นดีจริง แต่ควรให้ยาไทสูญหรือหาไม่ หมอไทควรจะไม่ให้มีต่อไปภายหน้า หรือควรมีไว้บ้าง ถ้าว่าส่วนตัวฉันเองสมัคกินยาไท แลยังวางใจหรืออุ่นใจในหมอไทมาก ถ้าหมอไทจะรักษาแบบฝรั่งหมด ดูจะเยือกเย็นเหมือนเหนอื่น ไม่เหนพระเหนสงฆ์เลยเหมือนกัน แต่ตัวฉันอายุมากแล้ว เหนจะไม่ได้อยู่จน เหนหมอไทหมดดอก คนภายหน้าจะพอใจอย่างฝรั่งกันทั่วไป จะไม่เดือดร้อนเช่นฉันดอกกระมัง เป็นแต่ลองเตือนดูตามหัวเก่าๆ ทีหนึ่งเท่านั้น…”
อยุธยา : วรรณกรรมสมัยอยุธยาตอนต้น
ในยุคที่ข้อมูลข่าวสารระหว่างประเทศสามารถค้นคว้าตรวจสอบกันได้อย่างกว้างขวางอย่างเช่นในปัจจุบัน…หากเหตุการณ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ได้รับการจดบันทึกไว้ทั้งสองด้านของคู่กรณี เหตุการณ์นั้นเป็นที่น่าเชื่อถือว่าเคยเกิดขึ้นจริง… ธนาคารกลางรัสเซียเตรียมที่จะรับซื้อทองคำ โดยให้ราคาต่ำกว่าตลาดโลก เป็นระยะเวลา three เดือน โดยจะจ่ายที่ 5,000 รูเบิลต่อกรัม ดีเดย์ 28 มี.ค.-30 มิ.ย. “…ในกรุงสยามนั้น ถ้าใครป่วยไข้ลง ก็จะเริ่มทำให้เส้นสายยืด โดยให้ผู้ชำนาญการในทางนี้ ขึ้นไปบนร่างกายของคนไข้ และใช้เท้าเหยียบๆ…” ข้อเขียนนี้ เพียงต้องการเผยแพร่ประเด็นที่เป็นข้อสังเกตุในด้านลึกเกี่ยวกับบุคคลที่มีกล่าวถึงในประวัติศาสตร์อย่างต้องการหาความเป็นจริงที่เป็นไปได้มากที่สุด…อย่างไม่มีอคติชอบชัง…. พระบริหารเทพธานี. ประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๒.
บูธมติชนแน่น three เวทีประชัน 4 นักเขียนแจกลายเซ็น นักธุรกิจต่อคิวพบ ‘สุพันธุ์’ ประธาน ส.อ.ท. เด็กที่เกิดกับขุนวรวงศาธิราชไม่ฆ่า….แต่เก็บไว้ ทั้งๆที่ไม่มีสถานภาพอะไรจะช่วยแม่ให้มีอำนาจได้….
“กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย” โรงเรียนมิชชันนารีชายแห่งแรกของสยาม
จึงการมอบวางอำนาจของกลุ่มสุโขทัยลงบนมือของกลุ่มสุพรรณภูมิในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันของแกนนำสองกลุ่มนี้มาอย่างยาวนาน…. ส่งทูตมาเจรจาทำสัญญาฉบับแรกกับกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. หาได้มีเจตนาจะลบหลู่ดูหมิ่นพระเกียรติของบรรพกษัตริย์พระองค์ใดก้อหาไม่”…… แต่เนื่องจากมีเหตุการณ์สำคัญอีกเหตุการณ์สำคัญหนึ่งเกิดขึ้นและมีกล่าวไว้ในประวัติศาสตร์ของลาวคือ…
พัฒนาการของมนุษย์กับอารยธรรมในราชอาณาจักรไทย เล่ม ๑. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. ประวัติศาสตร์ไทยยุคก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ช่วงต้น การเข้ามาอยู่อาศัย แนวคิดถิ่นกำเนิดชนชาติไท บ้านเชียง ~2500 ปีก่อน พ.ศ.