ล่าสุดสงคราม กับ พม่า ที่ ทำให้ ไทย ต้อง สูญ เสีย สมเด็จ พระ สุริโย...

สงคราม กับ พม่า ที่ ทำให้ ไทย ต้อง สูญ เสีย สมเด็จ พระ สุริโย ทั ย เกิด ขึ้น ใน สมัย ใด

ต้องอ่าน

แผนการจัดและประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ สาขาวิชา ภาษาไทย รายวิชา ท๓๐๑๐๔ พัฒนาทักษะภาษาไทย … บทที่ ๑ คำ ความหมาย และการสรรใช้คำ สาระสำคัญ ชีวิตในปัจจุบันมีความจำเป็นที่จะต้องใช้การเขียนมากขึ้น ไม่ว่าในการสื่อสารทั่วๆ… จงอ่านบทกวีเรื่อง “เจ้าสาวใบตอง” แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ ๒.๑ แนวคิดของบทกวีต่อไปนี้คืออะไร (๔ คะแนน… สนธิสัญญาเบาว์ริง หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยามเป็น สนธิสัญญา ที่ทางโลกตะวันตกบีบคั้นทางสยามมาตั้…

ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประเทศที่ไม่มีทางออกไปสู่ทะเลสากลประเทศที่ถูก ปิดล้อมหรือเกือบถูกปิดล้… 2 ได้มีพระภิกษุลังกา ชื่อ พระสาสนวงศ์ อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุและต้นโพธิ์ลังกามาถวายใน พ.ศ. เมื่อเสร็จจากสงครามเก้าทัพแล้ว ไทยจึงมีโอกาสยกทัพไปตีเมืองปัตตานีใน พ.ศ. สยามพิวรรธน์ และไอคอนสยาม ผนึกพันธมิตรเปิดประตู เชื่อมประสบการณ์โลกคู่ขนานออฟไลน์และออนไลน์“Thailand…

รายชื่อผู้ถูกใจความเห็นนี้ คน

เรื่องราวเหตุการณ์ที่เกิดจลาจล ตามที่ปรากฎในจดหมายเหตุฝรั่ง เนื้อเรื่องก็ยุติต้องกับหนังสือพระราชพงษาวดาร เปนแต่มีราชการพิศดารออกไปว่า เมื่อเดือน ๖ ปีมโรง พ.ศ. ๒๒๓๑ สมเด็จพระนารายน์ทรงพระประชวร ประทับอยู่ที่พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ในพระราชวังเมืองลพบุรี พอพระเพทราชาเห็นว่าพระอาการหนักจะไม่คืนดีได้เปนแน่แล้ว ก็สั่งให้ตั้งกองล้อมวงรักษาพระราชวังให้กวดขัน (ตั้งแต่วันที่ ๒๖ พฤษภาคม) พระเพทราชาเข้าไปบัญชาการอยู่ในพระราชวัง แล้วให้ไปเรียกวิชเยนทรกับนายทหารฝรั่งเศสซึ่งขึ้นไปอยู่ที่เมืองลพบุรีในเวลานั้นเข้าไปบอกว่า สมเด็จพระนารายน์ทรงพระประชวร เดี๋ยวนี้มีกิติศัพท์ว่ามีผู้จะคิดขบถชิงราชสมบัติ กำลังจะสืบสาวเอาตัวผู้คิดร้าย จะต้องให้เอาตัววิชเยนทรกับนายทหารเหล่านั้นคุมไว้ก่อน แล้วจึงสั่งให้เอาตัวไปกักขังไว้ทั้งหมด ต่อมาอิกวัน ๑ พระเพทราชาให้เอาพระปีย์มาพิจารณา ทำนองพระปีย์จะรับว่าวิชเยนทรได้พูดว่าจะให้เปนรัชทายาท ในวันนั้นจึงสั่งให้เอาพระปีย์ไปประหารชีวิตรเสีย แล้วเอาตัววิชเยนทรมาชำระอยู่ ๓ วัน พิพากษาว่าวิชเยนทรคิดขบถจะชิงราชสมบัติให้พระปีย์ ด้วยประสงค์จะเปนผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน แล้วจะคิดการมักใหญ่ใฝ่สูงต่อไป ให้เอาวิชเยนทรไปประหารชีวิตรเสียที่ทเลชุบศร (เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน) วิชเยนทรเปนเจ้าพระยาอยู่ได้สัก ๓ ปี เมื่อตายอายุราว ๔๐ ปี การที่พระเพทราชาชำระพระปีย์แลวิชเยนทรนั้นไม่ได้กราบทูลสมเด็จพระนารายน์ ครั้นทรงทราบว่าประหารชีวิตรพระปีย์ สมเด็จพระนารายน์ก็ทรงโทมนัศน้อยพระไทยเปนกำลัง แต่ประชวรอยู่ในที่พระบรรธมไม่สามารถจะทำอย่างไรได้ ได้แต่ทรงแช่งสาปพระเพทราชากับหลวงสรศักดิ แต่ว่าพระวาจาที่ทรงแช่งสาปนั้นมีผลต่อไปเปนอันมากดังจะปรากฎต่อไปภายน่า. พอถึงเดือน ๑๐ ปีเถาะนั้น มองสิเออ เดอลาลุแบร์ ราชทูตฝรั่งเศสก็พาโกษาปานกลับมาส่งถึงกรุง ฯ ทูตไทยคราวโกษาปานไปเมืองฝรั่งเศสครั้งนั้น เลื่องฦๅในยุโรปมาก เพราะเปนทีแรกที่ปรากฎว่าพระเจ้าแผ่นดินประเทศทางตวันออกแต่งราชทูตไปยังราชสำนักพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยจึงทรงรับรองยกย่องเกียรติยศเปนอย่างสูง ถึงให้ตีเหรียญแลเขียนรูปราชทูตไทยเข้าเฝ้าไว้เปนที่ระฦก แต่ทูตไทยที่ไปคราวนั้นจะได้รับกระแสรับสั่งให้ไปจัดการงานอย่างใดกับฝรั่งเศสบ้างหาปรากฎไม่ ถึงที่พระเจ้าหลุยที่ ๑๔ ให้ราชทูตเข้ามาอิกครั้ง ๑ คราวมาส่งโกษาปาน ก็ยังไม่พบหลักฐานชัดเจนว่ามาทำไม เปนแต่ปรากฎว่าพระเจ้าหลุยทรงจัดทหารฝรั่งเศสมีจำนวน ๑,๔๐๐ คน นายพลชื่อ เดส์ฟาช เปนผู้บังคับบัญชา ให้มารับราชการของสมเด็จพระนารายน์ แลปรากฎในจดหมายเหตุของฝรั่งว่า เมื่อทหารเหล่านั้นมาถึง ทูตฝรั่งเศสจะพามาขึ้นที่กรุงศรีอยุทธยา รัฐบาลไทยหายอมไม่ ให้ขึ้นที่เมืองธนบุรี แล้วแบ่งส่งไปรักษาป้อมที่เมืองมฤท ๒ กองร้อย นอกจากนั้นให้อยู่ประจำรักษาเมืองธนบุรี จึงได้สร้างป้อมใหญ่ขึ้นทางฝั่งตวันออก (ตรงที่ตั้งโรงเรียนราชินีทุกวันนี้) อิกป้อม ๑. พอเสร็จเรื่องฝรั่ง สมเด็จพระเพทราชาราชาภิเศกแล้ว กิติศัพท์เรื่องที่สมเด็จพระนารายน์ทรงแช่งสาปเมื่อเวลาประชวรแพร่หลาย ก็มีผู้โกรธแค้นสมเด็จพระเพทราชาแลหลวงสรศักดิ ซึ่งได้เปนพระมหาอุปราช ว่าเปนขบถต่อสมเด็จพระนารายน์ พระยายมราชซึ่งสมเด็จพระนารายน์โปรดให้ไปสำเร็จราชการเมืองนครราชสิมา แลพระยารามเดโช ซึ่งโปรดให้ไปสำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช ต่างตั้งแขงเมืองไม่ยอมอ่อนน้อมต่อสมเด็จพระเพทราชาทั้ง ๒ เมือง ต้องรบพุ่งปราบปรามกันอยู่หลายปีจึงราบคาบ แล้วมีมอญคน ๑ ชื่อธรรมเถียร ปลอมตัวเปนเจ้าฟ้าอภัยทศน้องยาเธอของสมเด็จพระนารายน์ จะเข้ามาชิงราชสมบัติ ก็มีคนเชื่อถือไปเข้าด้วยเปนอันมาก จนยกกองทัพเข้ามาได้ถึงชานพระนคร แต่มาพ่ายแพ้ ทีหลังเลยเกิดเหตุสงไสยข้าราชการ ถึงประหารชีวิตรนายจบคชประสิทธ ซึ่งได้เปนกรมพระราชวังหลัง แลเจ้าพระยาสุรสงครามเสียทั้ง ๒ คน วุ่นวายอยู่ช้านานบ้านเมืองจึงเรียบร้อยเปนปรกติ.

สงคราม กับ พม่า ที่ ทำให้ ไทย ต้อง สูญ เสีย สมเด็จ พระ สุริโย ทั ย เกิด ขึ้น ใน สมัย ใด

ส่งนักแสดงสาวกลับบ้าน ภายหลังเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานที่อาลัยนักแสดงสาว แตงโม นิดา พัชรวีระพงษ์ มาเป็นที่คริสตจักรเสรีภาพกรุงเทพ เขตสะ… ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงแรงงาน เปิดโครงการส่งเสริมสุขภาพและความรู้งานประกันสังคม “Healthy Thailan… แรร์ไอเทม แรร์ ตามความหมายแปลว่า หายาก มีน้อย หรือถ้าเป็นอาหารก็ประมาณว่า ไม่สุก ดิบ ไอเท็ม … 8 ทิศ ภาษาอังกฤษ บทความที่แล้วเสนอเรื่อง ชื่อทิศแบบไทย กันไปแล้วมาวันนี้เรามาดูกันว่า ทิศ ต่างๆ ที่เราเรียก เหนือใ… ประเทศลาวเป็น “สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” ขึ้นในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. ซึ่งคนไทยเรียกว่า การะฝัด นำเครื่องราชบรรณาการเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย ใน พ.ศ.

รัสเซียประกาศหยุดยิงชั่วคราวใน 2 เมืองที่ถูกปิดล้อม เพื่อเปิดทางอพยพพลเรือน

ประกาศหลักเกณฑ์การกำกับบริษัทและคนกลางประกันภัยฉบับใหม่ เปิดช่อง นำ Digi… ประกันสังคม พร้อมจ่ายชดเชยรายได้ลูกจ้างผู้ประกันตน ม.33 ที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 6 เดือน คนละ 1.5 หมื่นบ… แผนการจัดและประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ สาขาวิชา ภาษาไทย … บทที่ ๒ การเขียนบันทึก สาระสำคัญ คนเราไม่สามารถจะจดจำทุกสิ่งทุกอย่าง เราจึงควรบันทึกสิ่งต่างๆ ไว้ เพื่อประโยชน์ในการช่วยจด… บทที่ ๓ การย่อความ สาระสำคัญ การที่สามารถเก็บใจความสำคัญจากเรื่องที่ฟังหรืออ่านได้อย่างครบบริบูรณ์มีประโยชน์มาก เ…

สงคราม กับ พม่า ที่ ทำให้ ไทย ต้อง สูญ เสีย สมเด็จ พระ สุริโย ทั ย เกิด ขึ้น ใน สมัย ใด

‘กุ๊ก กฤติกา’ เผยสารจาก ‘พี่ชายแตงโม’ หลังโพสต์ผิดหวัง รับเสียใจ ฝากขอโทษทุก… ลูกค้าวอน ‘สุกี้ดัง’ เปลี่ยนเพลย์ลิสต์ เปิดเพลงเศร้ามาก หวั่นคนกินร้องไห้ คอมเมนต์เผยเคย… เปิดวิธี-ลิงก์เช็กสถานะการโอนเงินค่าประกันใช้ไฟฟ้าจาก กฟน. ‘ดร.อนุสรณ์’ ประเมิน 6 ฉากทัศน์สงครามรัสเซีย-ยูเครน ชี้เม็ดเงินบางส่วนไหลเข้าเอเชีย-ไทยไ… ในห้อง ‘งานบุญอื่นๆ’ ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.

ทำความรู้จักกันหน่อยครับ

‘ศิริราช’ ขออภัย ส่งศพผู้ป่วยโควิดให้ญาติผิดพลาด กำลังสอบสวนหาข้อเท็จจริง ป้องกันทำผิดซ้… คนไทยเราเริ่มแตกแยกกันเอง ดังที่คุณทางสายธาตุได้กรุณาร้อยเรียงไว้ ต้องขออนุญาตตัดตอนมากล่าวถึง… “…อาณาจักรนี้จึงเป็นศูนย์กลางการค้าของภูมิภาคแถบนี้เลยในสมัยนั้น หรือแม้แต่ในสมัยนี้ก็ตาม ไทยเราก็ยังเป็นศูนย์กลางของย่านนี้อยู่จริงไหมคะ…” แผนการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ สาขาวิชา ภาษาไทย รายวิชา ท๓๐๑๐๒ ภาษาไทยเพื่อการส… ได้มีพระภิกษุชาวลังกา ชื่อ พระสาสนวงศ์ อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุและต้นโพธิ์ลังกามาถวายใน พ.ศ. (พิเศษ) ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร ผู้แปล ‘พระพุทธเจ้าสอนอะไร’ วงการ ‘จารึกศึกษา&#…

ในวันพม่ามายิงพระราชวังที่กล่าวมานี้ พระเจ้าอลองพญามาทรงบัญชาการแลจุดปืนใหญ่เอง พเอิญปืนแตกถูกพระองค์บาดเจ็บสาหัส ก็ประชวรหนักในวันนั้น พอวันรุ่งขึ้นถึงเดือน ๖ ขึ้น ๒ ค่ำ๑๖ พม่าก็พากันเลิกทัพขึ้นไปทางเมืองเหนือ หวังจะกลับออกทางด่านแม่ละเมา แต่ไปยังไม่พ้นแดนเมืองตาก พระเจ้าอลองพญาก็สิ้นพระชนม์ในกลางทาง. เขมรก็เอาใจออกห่างจากไทยไปฝักใฝ่ญวน และเกิดจลาจลแย่งอำนาจกันขึ้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงยกทัพไปปราบ ได้เขมรกลับมาเป็นประเทศราชดังเดิม ใน พ.ศ. เรื่องราวเหตุการณ์ที่ไทยเกี่ยวข้องกับฝรั่งต่างชาติครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนารายน์ มีปรากฎอยู่ในจดหมายเหตุของฝรั่งเปนพื้น ข้าพเจ้าจะลองเก็บเนื้อความมาแสดงในตอนนี้พอให้รู้เรื่อง เพราะไม่มีในหนังสือพระราชพงษาวดาร แต่เกรงอยู่ว่าจะเรียบเรียงให้สั้นนักไม่ได้ ถ้าท่านผู้อ่านเบื่อก็ขอให้พลิกข้ามไปเสีย. เรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เท่าที่คนไทยเรารับรู้กันโดยทั่วไปนั้น ส่วนใหญ่มักเป็นพระราชกรณียกิจสำคัญ คือการศึกสงครามกับอาณาจั… จนท.พบถุงดำคล้ายกระเป๋า บรรจุขวดทรงสูง ระหว่างค้นหาหลักฐานคดี ‘แตงโม’ กลางเจ้าพระยา เมื่อเวลา 15.forty น.

  • ๒๒๒๔ แต่ทูตที่ไปคราวนี้เรือแตกกลางทางเลยสูญหายไปหมด หาได้ไปถึงเมืองฝรั่งเศสไม่.
  • ๒๒๓๑ สมเด็จพระนารายน์ทรงพระประชวร ประทับอยู่ที่พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ในพระราชวังเมืองลพบุรี พอพระเพทราชาเห็นว่าพระอาการหนักจะไม่คืนดีได้เปนแน่แล้ว ก็สั่งให้ตั้งกองล้อมวงรักษาพระราชวังให้กวดขัน (ตั้งแต่วันที่ ๒๖ พฤษภาคม) พระเพทราชาเข้าไปบัญชาการอยู่ในพระราชวัง แล้วให้ไปเรียกวิชเยนทรกับนายทหารฝรั่งเศสซึ่งขึ้นไปอยู่ที่เมืองลพบุรีในเวลานั้นเข้าไปบอกว่า สมเด็จพระนารายน์ทรงพระประชวร เดี๋ยวนี้มีกิติศัพท์ว่ามีผู้จะคิดขบถชิงราชสมบัติ กำลังจะสืบสาวเอาตัวผู้คิดร้าย จะต้องให้เอาตัววิชเยนทรกับนายทหารเหล่านั้นคุมไว้ก่อน แล้วจึงสั่งให้เอาตัวไปกักขังไว้ทั้งหมด ต่อมาอิกวัน ๑ พระเพทราชาให้เอาพระปีย์มาพิจารณา ทำนองพระปีย์จะรับว่าวิชเยนทรได้พูดว่าจะให้เปนรัชทายาท ในวันนั้นจึงสั่งให้เอาพระปีย์ไปประหารชีวิตรเสีย แล้วเอาตัววิชเยนทรมาชำระอยู่ ๓ วัน พิพากษาว่าวิชเยนทรคิดขบถจะชิงราชสมบัติให้พระปีย์ ด้วยประสงค์จะเปนผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน แล้วจะคิดการมักใหญ่ใฝ่สูงต่อไป ให้เอาวิชเยนทรไปประหารชีวิตรเสียที่ทเลชุบศร (เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน) วิชเยนทรเปนเจ้าพระยาอยู่ได้สัก ๓ ปี เมื่อตายอายุราว ๔๐ ปี การที่พระเพทราชาชำระพระปีย์แลวิชเยนทรนั้นไม่ได้กราบทูลสมเด็จพระนารายน์ ครั้นทรงทราบว่าประหารชีวิตรพระปีย์ สมเด็จพระนารายน์ก็ทรงโทมนัศน้อยพระไทยเปนกำลัง แต่ประชวรอยู่ในที่พระบรรธมไม่สามารถจะทำอย่างไรได้ ได้แต่ทรงแช่งสาปพระเพทราชากับหลวงสรศักดิ แต่ว่าพระวาจาที่ทรงแช่งสาปนั้นมีผลต่อไปเปนอันมากดังจะปรากฎต่อไปภายน่า.
  • เรื่องราวเหตุการณ์ที่เกิดจลาจล ตามที่ปรากฎในจดหมายเหตุฝรั่ง เนื้อเรื่องก็ยุติต้องกับหนังสือพระราชพงษาวดาร เปนแต่มีราชการพิศดารออกไปว่า เมื่อเดือน ๖ ปีมโรง พ.ศ.
  • ๒๒๙๘ พระเจ้าอลองพญายกกองทัพบกทัพเรือลงมาตีได้ทั้งเมืองร่างกุ้ง๖ แลเมืองพสิมอันอยู่ปากน้ำเอราวดี แล้วไปตีเมืองสิเรียมอันเปนเมืองท่าค้าขายอยู่ปากน้ำหงษาวดีได้เมื่อปีชวด พ.ศ.
  • ๒๒๒๖ เมื่อไปถึงเมืองฝรั่งเศสรัฐบาลก็ต้อนรับเปนอันดี แต่เปนทูตถือศุภอักษรเสนาบดีไปสืบข่าวทูตที่ไปคราวก่อน ไม่ได้เชิญพระราชสาส์นไปถวาย พระเจ้าหลุยจึงเปนแต่ให้เฝ้าที่พระราชวังเวอซายในเวลาเสด็จออกประพาศผ่านไป๙ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน คฤศตศก ๑๖๘๔.
  • ส่วนการค้าขายนั้น พวกชาวต่างประเทศเดินเรือบรรทุกสิ่งของสินค้าเมืองอื่น ๆ เข้ามาขายในเมืองไทย แล้วรับซื้อสิ่งของสินค้าในเมืองไทยบรรทุกไปขายตามเมืองต่างประเทศ เรือเมืองไทยที่ไปมาค้าขายอย่างนี้ก็มีมาก กรุงศรีอยุทธยาเปนท่าสำหรับค้าขายทางเมืองชวามลายู ตลอดจนเมืองจีนเมืองยี่ปุ่นฝ่าย ๑ เมืองมฤทเปนท่าสำหรับค้าขายทางเมืองอินเดีย ตลอดจนเมืองเปอเซียแลเมืองอะหรับฝ่าย ๑ ส่วนอากรที่รัฐบาลเก็บจากพวกพ่อค้าเดิมเก็บแต่ภาษีปากเรือ คือบรรดาเรือที่ไปมาค้าขายกับต่างประเทศลำไหนปากกว้างเท่าใด คิดพิกัดเก็บเงินภาษีเปนอัตราตามขนาดปากเรือว่าวาละเท่านั้นๆ ทุกเที่ยวไปมา เก็บภาษีอย่างนี้เหมือนกันทั่วไปทั้งเรือไทยแลจีนจามแขกฝรั่ง อิกอย่าง ๑ รัฐบาลได้ผลประโยชน์จากกำไรในการซื้อขายสินค้าเองด้วย การที่รัฐบาลค้าขายในชั้นแรกจะเปนอย่างไรยังไม่ได้ความชัด เข้าใจว่าจะเปนด้วยเมื่อแรกชาวต่างประเทศเข้ามาค้าขาย จะไมใคร่มีใครซื้อขายด้วย แลจะทวงหนี้สินยาก จึงพอใจค้าขายกับรัฐบาลซึ่งเปนเจ้าของเมือง บางทีจะเปนมาแต่ก่อนฝรั่งมาค้าขายแล้ว ครั้นฝรั่งมาค้าขายในชั้นแรกจึงพอใจให้รัฐบาลรับเหมาซื้อสินค้าจากฝรั่งไปจำหน่ายเปนรายย่อยในพื้นเมือง แลให้รัฐบาลรับซื้อสินค้าในพื้นเมืองมารวบรวมไว้ขายให้ฝรั่ง ประเพณีอันนี้เห็นจะมีขึ้นตามประเทศในอินเดียก่อน แล้วจึงเอาอย่างมาในเมืองนี้ การที่รัฐบาลค้าขายดังกล่าวมานี้ เปนการเกี่ยวข้องต้องจ่ายแลรับเงินหลวง จึงให้เปนน่าที่ของพระยาโกษาธิบดีเจ้ากระทรวงพระคลังแต่เดิมมา โกษาธิบดีจึงเปนเจ้าพนักงานการเกี่ยวข้องกับชาวต่างประเทศเริ่มด้วยพวกที่มาค้าขาย จนกลายมาเปนกระทรวงต่างประเทศในชั้นหลังด้วยประการฉนี้.

การเปลี่ยนรัชกาลคราวหลังนี้ เปนเหตุร้ายแลเปนต้นเหตุที่จะเสียกรุงศรีอยุทธยาแก่พม่า เพราะพระเจ้าแผ่นดินซึ่งขึ้นปกครองบ้านเมือง เสมอได้ถูกสาปสันว่าไม่สมควรจะปกครองแผ่นดินแล้วยังมิหนำ ซ้ำความประพฤติพระองค์เวลาก่อนจะได้ราชสมบัติก็ดี แลเมื่อได้ราชสมบัติแล้วก็ดี ก็ไม่ทำความเลื่อมใสให้บังเกิดขึ้นลบล้างความวิตกของคนทั้งปวง เพราะเช่นนี้ ในไม่ช้าก็เกิดเหตุขึ้นด้วยกรมหมื่นเทพพิพิธซึ่งออกทรงผนวชอยู่วัดกระโจม กับเจ้าพระยาอภัยราชา พระยายมราช แลพระยาเพ็ชรบุรีคบคิดกันเปนขบถ โดยประสงค์จะเชิญพระเจ้าอุทุมพรคืนมาครองราชสมบัติดังเก่า แต่พเอิญนำความไปทูลหารือสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ๆ กลับทูลให้สมเด็จพระเชษฐารู้พระองค์ แต่ขออย่าให้ฆ่าฟันพวกที่คิดร้าย จึงให้เนรเทศกรมหมื่นเทพพิพิธไปเสียลังกาทวีป แล้วเอาข้าราชการทั้งนั้นจำไว้ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศเสวยราชย์ยังไม่ทันได้ถึงปี เวลาข้าราชการกำลังป่วนปั่นกันดังกล่าวมาก็มีศึกพม่ามาติดพระนคร. สมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐเสด็จสวรรคต เมื่อเดือน ๘ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีขาล พ.ศ. ๒๓๐๑ เสวยราชย์ได้ ๒๖ ปี พระชัณษา ๗๘ พรรษา เจ้าฟ้าอุทุมพรพระมหาอุปราชเสด็จขึ้นผ่านพิภพ พอจัดการประดิษฐานพระบรมศพเสร็จแล้ว ก็ให้จับกรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ กรมหมื่นเสพภักดี สำเร็จโทษเสียทั้ง ๓ พระองค์ แล้วจึงทำพระราชพิธีปราบดาภิเศก แต่ก็หาได้เสวยราชสมบัติเปนปรกติไม่ สิ้นเจ้าสามกรมความลำบากก็เกิดขึ้นทางเจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีผู้เปนสมเด็จพระเชษฐาที่ลาผนวชออกมา ด้วยเจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีตั้งพระองค์เปนอิศร ขึ้นอยู่บนพระที่นั่งสุริยาธิอมรินทรเอาโดยพลการ แล้วทำท่วงทีอย่างเปนพระเจ้าแผ่นดินอยู่ในพระราชวังด้วยอิกพระองค์ ๑ ประสงค์จะให้สมเด็จพระอนุชาธิราชถวายราชสมบัติเหมือนอย่างเมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐถวายราชสมบัติแก่พระเจ้าท้ายสระแต่ก่อนมา สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรจะทรงทำประการใด ก็เกรงสมเด็จพระชนนีพันปีหลวง ในปีนั้นพเอิญสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรพระชัณษาครบอุปสมทบ ครั้นได้เดือนเศษ พอถึงแรมเดือน ๙ ก็ทูลถวายสมบัติแก่เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรี แล้วเสด็จออกไปทรงผนวชที่วัดศรีอโยชฌิยา แล้วมาประทับอยู่ที่วัดประดู่โรงธรรม เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีก็ทำพิธีราชาภิเศกขึ้นเสวยราชย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราช แต่คนทั้งหลายเรียกกันเปนสามัญหลายอย่าง เรียกว่า “ขุนหลวงเอกทัศ” ตามพระนามเดิมบ้าง เรียกว่า “ขุนหลวงสุริยาธิ์อมรินทร” ตามนามพระที่นั่งที่เสด็จประทับบ้าง ที่เอาอย่างนามเจ้ากรุงกัมพูชาแต่โบราณมาเรียกว่า “ขุนหลวงขี้เรื้อน” เพราะเหตุที่เปนโรคกลากเกลื้อนฤๅอย่างไรประจำพระองค์นั้นก็มีบ้าง ส่วนสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรนั้นคนทั้งหลายเรียกว่า “ขุนหลวงหาวัด” เพราะออกไปทรงผนวชอยู่ ในครั้งนั้นจึงเหมือนมีพระเจ้าแผ่นดิน ๒ พระองค์ด้วยกัน. เรื่องราวเหตุการณ์ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายน์ จำเดิมแต่จะเสด็จขึ้นครองราชสมบัติก็ต้องรบพุ่งกับพระเจ้าอาว์ถึงเปนศึกกลางเมือง แม้ชนะสมเด็จพระศรีสุธรรมราชาแล้ว เมื่อแรกสมเด็จพระนารายน์เสวยราชย์พวกศัตรูยังมีอยู่มาก จึงเปนเหตุให้เกิดกินแหนงกัน แม้จนเจ้านายในพระราชวงศ์ ต้องชำระสะสางกำจัดศัตรูภายในเปลี่ยนตัวข้าราชการเก่าเสียเปนอันมาก พอปราบปรามราชศัตรูภายในราบคาบก็เกิดรบพุ่งกับพม่า ดังพรรณามาในเรื่องสงครามทั้ง ๓ ครั้งที่กล่าวมาแล้ว แต่การทำสงครามทั้ง ๓ ครั้งนั้น เปนเหตุให้ปรากฎความสามารถของข้าราชการชั้นใหม่ ได้คนดีมีขึ้นหลายคน คือ เจ้าพระยาโกษา ฯ ขุนเหล็ก แลพระเพทราชาข้าหลวงเดิม อันเปนลูกพระนมทั้ง ๒ นี้เปนต้น นอกออกไปก็ยังมีอิก เช่นพระยาสีหราชเดโชไชย พระยาสุรสงคราม แลพระยารามเดโชเปนต้น เปนไทยบ้าง เปนเชื้อสายคนต่างประเทศถือสาสนาอื่นบ้าง ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายน์ข้าราชการที่เปนคนต่างชาติต่างสาสนาจึงมีมาก เพราะเหตุที่ข้าราชการเก่าร่อยหรอ ต้องหาคนใหม่เข้ารับราชการแทน ตั้งแต่รบกับพม่าเปนเดิมมา พอเสร็จเรื่องรบกับพม่าก็เกิดเหตุการณ์ขึ้นทางข้างฝรั่งเปนปัจจัยในพงษาวดารมาจนตลอดรัชกาลสมเด็จพระนารายน์. การที่สมเด็จพระเจ้าเอกทัศให้ไปเชิญสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรลาผนวชครั้งนั้น จะได้มีรับสั่งสัญญาอย่างไร ความข้อนี้ไม่ปรากฎในจดหมายเหตุ แต่เห็นได้ในการทั้งปวงที่ปรากฎต่อมา ว่าเมื่อพระเจ้าอุทุมพรลาผนวชครั้งนั้น เข้าพระไทยว่าสมเด็จพระเชษฐาจะคืนราชสมบัติให้ครองดังเก่า เพราะฉนั้นจึงทรงบังคับบัญชาการเต็มอำนาจเหมือนอย่างพระองค์ทรงครองแผ่นดิน ยกสมเด็จพระเชษฐาขึ้นไว้ในตำแหน่งสมเด็จพระเจ้าหลวง ความที่กล่าวนี้ เห็นได้ดังเช่นมีรับสั่งให้จับพระยาราชมนตรี ปิ่น กับจมื่นศรีสรรักษ์ฉิมพี่พระสนมเอกของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ซึ่งเปนต้นเหตุทำให้เกิดร้าวฉานในหมู่ข้าราชการ เอาตัวจำเสียทั้ง ๒ คน แล้วให้ปล่อยเจ้าพระยาอภัยราชากับพระยายมราช พระยาเพ็ชรบุรี ซึ่งต้องเวรจำมาด้วยเรื่องคิดขบถ ให้พ้นโทษออกมารับราชการดังเก่า ด้วยประสงค์จะให้ข้าราชการสมัคสมานกันเหมือนแต่เดิม แล้วจึงดำรัสสั่งให้กวาดต้อนราษฎร แลขนเสบียงอาหารเข้าไว้ในพระนคร ตระเตรียมป้อมปราการจะเอาพระนครเปนที่มั่นต่อสู้ข้าศึกดังแต่ก่อน ครั้งนี้เห็นว่ากำแพงเมืองข้างด้านเหนือตอนตรงพระราชวังชิดกระชั้นนัก ให้สร้างกำแพงขึ้นอิกแนว ๑ ให้ห่างออกไป ทำให้ต่ำกว่ากำแพงเดิม ให้ยิงปืนได้ทั้ง ๒ ชั้น ในเวลานั้นทำนองกองทัพเจ้าพระยาอภัยราชาที่ยกขึ้นไปทางเหนือจะกลับลงมาถึง จึงมีรับสั่งให้จัดกองทัพขึ้นใหม่อิกทัพ ๑ มีจำนวนพล ๒๐,๐๐๐ ให้เจ้าพระยามหาเสนาเปนแม่ทัพถืออาญาสิทธิ แลให้พระยายมราช พระยารัตนาธิเบศร์ พระยาราชบังสรร เปนนายกองยกออกไปตั้งรับข้าศึกที่ต่อแดนเมืองสุพรรณ.

ได้ความในพงษาวดารพม่าว่า มีกองทัพไทยประมาณพลสัก ๒๐,๐๐๐ ตั้งรับพม่าอยู่ที่เมืองราชบุรี คงเปนกองทัพพระยาอภัยมนตรีถอยมาจากเมืองกาญจนบุรี มาสมทบกับกองทัพพระยาพระคลังแลกองทัพที่หนีขึ้นไปจากข้างใต้ ตั้งรวมกันอยู่ณเมืองราชบุรี กองทัพมังฆ้องนรธามาถึงก่อน ได้รบพุ่งกันเปนสามารถ ไทยฆ่าฟันพม่าล้มตายลงมาก กองทัพมังฆ้องนรธาจวนจะแตกอยู่แล้ว พอกองทัพมังระราชบุตรยกตามมาทัน เข้าช่วยรบพุ่งระดมตีกองทัพไทยจึงแตกหนีมา พระเจ้าอลองพญามาตั้งรวบรวมพลอยู่ที่เมืองราชบุรี ๔ วัน๑๒ แล้วยกต่อมาเมืองสุพรรณบุรี. ฝ่ายวิชเยนทรตั้งแต่ได้เปนหัวน่าในราชการต่างประเทศ ก็ตั้งใจพยายามที่จะให้บังเกิดประโยชน์แก่เมืองไทยด้วยการที่คบหาสมาคมกับต่างประเทศ ให้สมพระราชประสงค์ของสมเด็จพระนารายน์ คือคิดจะให้ไทยเปนสัมพันธมิตรสนิทกับฝรั่งเศส กีดกันมิให้ฮอลันดาแลอังกฤษคิดร้ายได้นั้นอย่าง ๑ คิดจะบำรุงการค้าขายของไทยให้เจริญโภคทรัพย์เปนกำลังบ้านเมืองด้วยอย่าง ๑ การทั้ง ๒ อย่างนี้ ที่ปรากฎว่าได้จัดทำในชั้นวิชเยนทรเปนหัวน่าในราชการต่างประเทศเปนประการใด จะอธิบายต่อไปทีละอย่าง จะว่าด้วยเรื่องสมาคมกับฝรั่งเศสก่อน. หน่วยที่ ๑ ทำหน้าที่ทำลายการสื่อสารและการคมนาคมที่สำคัญ เช่น โทรศัพท์ โทรเลข ดำเนินการโดยทั้งฝ่ายทหารบกและพลเรือน ทหารบกจะทำการตัดสายโทรศัพท์ของทหาร ส่วนโทรศัพท์กลางที่วัดเลียบมี นายควง อภัยวงศ์ นายประจวบ บุนนาค นายวิลาศ โอสถานนท์ ดำเนินการ โดยมีทหารเรือทำหน้าที่อารักขา ส่วนสายโทรศัพท์และสายโทรเลขตามทางรถไฟและกรมไปรษณีย์เป็นหน้าที่ของ หลวงสุนทรเทพหัสดิน หม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์ เป็นต้น ซึ่งหน่วยนี้ยังรับผิดชอบคอยกันมิให้รถไฟจากต่างจังหวัดแล่นเข้ามาด้วย โดยเริ่มงานตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐ น. ในเวลานั้นพระเจ้าอลองพญาลงมาทอดพระเนตรเมืองทวาย เมืองมฤทแลเมืองตะนาวศรีที่ตีได้ใหม่ มาทราบว่ากองทัพไทยรบพุ่งอ่อนแอแตกหนีง่าย ๆ จึงเกิดความคิดขึ้นในตอนนี้ว่า น่าจะเข้ามาตีกรุงศรีอยุทธยา ด้วยความประมาทไทย จึงได้ตระเตรียมกองทัพที่เมืองตะนาวศรีนั้น ให้มังระราชบุตรเปนทัพน่า พระเจ้าอลองพญาเสด็จเปนทัพหลวงยกตามเข้ามาทางด่านสิงขร แล้วสั่งให้ไปตระเตรียมเกณฑ์ทัพทางเมืองมอญอิก ๒ ทัพ สำหรับจะให้เข้ามาในภายหลัง. ถึงเดือน ๕ แรม ๑๔ ค่ำ พม่าเอาปืนใหญ่มาตั้งณวัดราชพรี วัดกระษัตรา ข้างด้านตวันตก ยิงเข้าไปในพระนคร สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรทรงช้างพระที่นั่งเสด็จไปบัญชาการให้เจ้าน่าที่ยิงปืนป้อมตอบโต้พม่า ยิงกันอยู่จนเวลาเย็นพม่าก็เลิกทัพกลับไปค่าย. เมื่อเดือน ๕ แรม ๘ ค่ำ พม่าประมาณ ๒,๐๐๐ ยกลงไปยังท้ายคูทั้ง ๒ ฟาก๑๕ ขณะนั้นพวกชาวเรือค้าขายถอยหนีลงไปจากข้างเหนือ ไปจอดรวบรวมกันอยู่ที่ท้ายคูเปนอันมาก ทั้งเรือพระที่นั่งศรีพระที่นั่งกราบแลเรือกระบวน ซึ่งเอาไว้ในโรงเรือข้างเหนือพระราชวังก็ถอยเอาลงไปรวมไว้ที่นั่นด้วย พม่าฆ่าฟันผู้คนทั้งชายหญิงเด็กผู้ใหญ่ล้มตายเปนอันมาก แล้วเผาเรือที่ท้ายคูนั้นเสียหมดสิ้น.

สงคราม กับ พม่า ที่ ทำให้ ไทย ต้อง สูญ เสีย สมเด็จ พระ สุริโย ทั ย เกิด ขึ้น ใน สมัย ใด

๒๒๗๐ เมืองเชียงใหม่เปนขบถ พม่าปราบปรามไม่ลง เมืองเชียงใหม่จึงกลับเปนอิศระต่อมา จะยุติเรื่องพงษาวดารพม่าไว้เพียงนี้ตอน ๑ ไปตั้งเรื่องที่จะเกี่ยวข้องกับเมืองไทยในตอนน่าต่อไป. ในระหว่างเวลาพระยาตะนาวศรีส่งหนังสืออัลติเมตัมของบริษัทอังกฤษเข้ามายังกรุง ฯ ทางโน้นพวกอังกฤษที่มาอยู่เมืองไทยพากันกลัวรัฐบาลก็กลับไปเข้ากับอังกฤษ เชื้อเชิญพวกนายเรือรบขึ้นพักอยู่ที่เมืองมฤท ฝ่ายกับตันเวลด์เตน นายเรือรบอังกฤษคิดว่าป้อมไทยมีอยู่ที่เมืองมฤท ถ้าเกิดรบกันขึ้นกับไทยจะต้องตีป้อมเปนการลำบาก เมื่อพวกอังกฤษได้รับให้อยู่ขึ้นอยู่บนเมืองแล้วควรจะทำให้เปนประโยชน์สำหรับการข้างน่าเสียด้วยทีเดียว จึงให้ทหารลงมือรื้อป้อมเมืองมฤท แลแย่งเอาเรือกำปั่นรบของไทยที่อยู่น่าเมืองไปเสียด้วยลำ ๑ พระยาตะนาวศรีเห็นอังกฤษก่อการสงครามขึ้นก่อน ก็ยกกองทัพลงมาจากเมืองตะนาวศรี เข้าปล้นเมืองมฤทที่พวกอังกฤษตั้งอยู่ในกลางคืนวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๖๘๗ (ราวในเดือน ๘ ปีเถาะ พ.ศ. ๒๒๓๗) พวกอังกฤษกำลังประมาทไม่ได้เตรียมระวังตัว ถูกฆ่าฟันตายเสียเปนอันมาก ริชาดเบอนาบีก็ตายในที่รบ ไทยกลับเอาป้อมคืนได้ แลแย่งเรือรบอังกฤษไว้ได้ลำ ๑ กับตันเวลด์เตนกับพวกอังกฤษที่เหลือตายลงเรือหนีไปได้ ๒ ลำ พอข่าวทราบเข้ามาถึงกรุงฯ สมเด็จพระนารายน์ก็ให้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศเปนสงครามกับบริษัทอังกฤษ๑๒ เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ค.ศ.

สงคราม กับ พม่า ที่ ทำให้ ไทย ต้อง สูญ เสีย สมเด็จ พระ สุริโย ทั ย เกิด ขึ้น ใน สมัย ใด

๒๒๙๔ อุปราชาจึงให้ตละปั้นคุมกองทัพมีจำนวนพล ๑๕,๐๐๐ ตั้งอยู่ที่เมืองอังวะ เพื่อจะได้ปราบปรามหัวเมืองพม่าแลไทยใหญ่ที่ยังมิได้มาอ่อนน้อมต่อไป ส่วนอุปราชายังไม่ไว้ไจไทย เกรงว่าจะยกกองทัพออกไปช่วยพม่า จึงถอยทัพกลับลงมาเมืองหงษาวดี พาเอาพระเจ้าอังวะกับเจ้านายในราชวงศ์พม่าซึ่งจับได้ที่เมืองอังวะลงมาเมืองหงษาวดีด้วยจนสิ้นเชิง เมืองอังวะแลหัวเมืองพม่าที่อยู่ใกล้เคียงก็ตกอยู่ในอำนาจมอญแต่นั้นมา. เหตุที่พม่าจะมาขอเปนไมตรีกับไทยนั้น ได้ความว่าเดิมพระเจ้าอังวะมหาธรรมราชาธิบดีตั้งขุนนางพม่าคน ๑ ชื่อมังสาอ่องลงมาเปนเจ้าเมืองหงษาวดี เปนตำแหน่งเทศาภิบาลบังคับบัญชาหัวเมืองมอญข้างตอนเหนือ ครั้นพระเจ้าอังวะมหาธรรมราชาธิบดีเสวยราชย์มาได้ ๕ ปี ถึงปีมเสง พ.ศ. ๒๒๘๐ พวกกระแซเมืองมณีบุระกำเริบ ลงมาปล้นหัวเมืองพม่าข้างฝ่ายเหนือ พระเจ้าอังวะให้ไปปราบปราม กองทัพพม่าไปแพ้พวกกระแซหลายครั้ง ไม่สามารถจะปราบปรามได้ กิติศัพท์เลื่องฦๅลงมาถึงเมืองหงษาวดี มังสาอ่องพม่าเจ้าเมืองหงษาวดีเห็นว่าพระเจ้าอังวะเสื่อมสิ้นเดชานุภาพ ก็คิดขบถแขงเมืองหมายจะตั้งตัวเปนใหญ่ขึ้นในรามัญประเทศ มีพวกมอญเข้าด้วยบ้าง แต่ที่รังเกียจว่ามังสาอ่องเปนพม่าไม่เข้าด้วยนั้นโดยมาก พม่าเจ้าเมืองสิเรียมซึ่งอยู่ในมณฑลหงษาวดียังซื่อตรงต่อพระเจ้าอังวะไม่ยอมเข้าด้วย มังสาอ่องจึงให้เกณฑ์กองทัพจะยกไปตีเมืองสิเรียม พวกมอญที่ไม่เข้าด้วยก็พากันหลบหนีเสีย มังสาอ่องขัดใจให้เกาะกุมเอาบุตรภรรยามาเปนตัวจำนำ พวกมอญจึงพากันกำเริบขึ้น จับมังสาอ่องฆ่าเสีย ฝ่ายพระเจ้าอังวะเมื่อทราบว่ามังสาอ่องเปนขบถ ให้มังเรกะยอค่องเปนแม่ทัพถือพล ๕,๐๐๐ ยกลงมาปราบปราม กองทัพพม่าลงมาถึงเมืองหงษาวดีเมื่อพวกมอญฆ่ามังสาอ่องเสียแล้ว พวกมอญมีความชอบก็ยอมอ่อนน้อมต่อพม่าดังแต่ก่อน ส่งบุตรภรรยามังสาอ่องที่ได้จับไว้ให้แก่แม่ทัพพม่า ๆ จึงให้เจ้าเมืองสิเรียมผู้ซึ่งไม่เข้าด้วยมังสาอ่องมารั้งราชการมณฑลอยู่ที่เมืองหงษาวดี แล้วเลิกกองทัพกลับไปเมืองอังวะ เจ้าเมืองสิเรียมมาอยู่เมืองหงษาวดีจะหาความชอบ ให้เที่ยวสืบสวนจับกุมมอญซึ่งได้เข้ากับมังสาอ่องต่อไป พวกมอญถูกเจ้าเมืองใหม่จับกุมอิก ก็โกรธแค้นพม่าพากันกำเริบขึ้น จับเจ้าเมืองสิเรียมที่มาว่าการเมืองหงษาวดีฆ่าเสียอิกคน ๑ แล้วรู้ตัวว่าพม่าคงจะยกกองทัพมาปราบปราม ถ้าไม่ระวังรักษาตัวให้ดีก็คงป่นปี้ พวกมอญเมืองหงษาวดีจึงคิดอ่านจะรวบรวมกันเตรียมต่อสู้พม่า. พระเจ้าอลองพญาตีค่ายไทยที่ทุ่งตาลานแตกแล้วก็ยกกองทัพตามเข้ามาถึงกรุงศรีอยุทธยา เมื่อเดือน ๕ ขึ้น ๑๑ ค่ำ ปีมโรง พ.ศ. ๒๓๐๓ ตั้งค่ายหลวงณบ้านกุ่มข้างเหนือกรุง ฯ ให้มังระราชบุตรกับมังฆ้องนรธาซึ่งเปนกองทัพน่าลงมาตั้งที่ทุ่งโพธิ์สามต้น ครั้งนั้นหลวงอภัยพิพัฒน์ขุนนางจีน พาพวกจีนบ้านในก่ายประมาณ ๒,๐๐๐ มาขออาสาตีค่ายข้าศึกที่โพธิ์สามต้น จึงโปรดให้จมื่นทิพเสนาปลัดกรมตำรวจคุมกำลัง ๑,๐๐๐ หนุนออกไปด้วย กองทัพจีนยกไปถึงยังมิทันจะได้ตั้งค่าย พม่าก็ข้ามลำน้ำโพธิ์สามต้นมาระดมตีกองทัพจีนแตกพ่าย จมื่นทิพเสนาซึ่งเปนกองหนุนยังตั้งอยู่ที่วัดทเลหญ้า๑๔ทุ่งเพนียดหนุนไปไม่ทัน ครั้นเห็นพม่าไล่ฆ่าฟันจีนมากองทัพจมื่นทิพเสนาก็พลอยแตกด้วย ครั้งนั้นเสียผู้คนไทยจีนถูกพม่าฆ่าฟันเสียเปนอันมาก มังระเห็นได้ทีก็ยกกองทัพรุกเข้ามาตั้งค่ายที่เพนียด ให้มังฆ้องนรธาเปนกองน่าเข้ามาตั้งถึงวัดสามวิหาร แต่นั้นก็มิได้ปรากฎว่าไทยยกกองทัพออกไปรบพุ่งพม่าอิก เปนแต่ให้รักษาพระนครมั่นไว้ ภายนอกพระนครปล่อยให้พม่าทำตามชอบใจ มีจดหมายเหตุการณ์ตอนนี้ปรากฎในหนังสือพระราชพงษาวดารว่า. ฝ่ายกรุงศรีอยุทธยา เมื่อในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐ บ้านเมืองเปนสันติศุขไม่มีศึกสงคราม การต่าง ๆ ที่ทรงประพฤติจึงเปนไปในทางบำเพ็ญพระราชกุศลเปนพื้น เปนต้นว่าบูรณะปฏิสังขรณ์มหาเจดียสถานแลพระอารามใหญ่น้อยที่ปรักหักพังอยู่ทั้งที่ในกรุง ฯ แลหัวเมืองทั้งปวง เปนการสำคัญที่ได้ปรากฎว่าทรงบำเพ็ญมาตลอดรัชกาล เมื่อพระเจ้าอลองพญารบพุ่งกับมอญในตอนหลัง พวกมอญที่พ่ายแพ้พม่าพากันแตกหนีเข้ามาพึ่งพระบารมีหลายคราว ก็โปรดให้รับไว้ตามเคย พระราชทานที่ให้ทั้งบ้านเรือนอยู่ในชานพระนคร เช่นที่บ้านโพธิ์สามต้นเปนต้น คงได้ทรงทราบกิติศัพท์ความเปนไปในเมืองมอญเมืองพม่าจากพวกมอญที่หนีเข้ามาในตอนหลังนี้อยู่เนืองๆ แต่คงจะคิดเห็นกันในกรุงศรีอยุทธยาว่ามอญกับพม่ารบกันฟั่นเฝือมาช้านาน ประเดี๋ยวฝ่ายโน้นชนะ ประเดี๋ยวฝ่ายนี้ชนะ เปนอาจินโดยมิควรที่จะคำนึง หาได้นึกว่ามีบุรษพิเศษเกิดขึ้นในพวกพม่าอิกไม่ จึงมิได้คิดเห็นว่าศึกพม่าจะมีมาถึงเมืองไทยอิก.

บทความล่าสุด