ทั้งสองไม่สามารถตกลงกันได้ จึงตกลงกันว่าจะไปทูลถามพระผู้มีพระภาค. เรื่องที่โต้ตอบกันนี้ ก็เป็นข่าวลือไปถึงราชสำนัก. พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงสนทนากับพระนางมัลลิกาถึงเรื่องนี้ เพื่อที่จะให้ทราบแน่ พระนางมัลลิกาจึงส่งนาฬิชังฆพราหมณ์ไปกราบทูลถามพระผู้มีพระภาค. พระองค์ทรงตรัสยืนยันว่า ความเศร้าโศก เป็นต้น เป็นของเกิดจากสิ่งที่เป็นที่รักจริง และได้ตรัสชี้ตัวอย่างมากหลาย ถึงคนที่ถึงกับเป็นบ้าไป หรือฆ่าหญิงคนรักและฆ่าตัวเป็นเพราะผู้เป็นที่รักตายไปบ้าง เพราะความรักมีอันปรวนแปรไปบ้าง แล้วนาฬิชังพราหมณ์ก็กลับมากราบทูลพระนางมัลลิกา . บุตรน้อยคนหนึ่งของคฤหบดีผู้หนึ่งถึงแก่กรรม.
กำหนดรู้จิตใจของผู้อื่น ๘. มีตาทิพย์ ๑๐. ทำอาสวะให้สิ้น. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ สามคาน แคว้นสักกะ ครั้งนั้นนิครนถนาฏบุตรถึงแก่กรรมในกรุงปาวาแล้วไม่นาน สาวกก็แตกกัน ทะเลาะกัน พระจุนทะเข้าไปหาพระอานนท์เล่าความให้ฟัง พระอานนท์จึงนำเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคกราบทูลเรื่องราว และแสดงความปรารถนาที่จะเห็นว่าไม่มีการวิวาทเกิดขึ้นในสงฆ์ซึ่งเป็นไปเพื่อไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นความสุขแก่ชนเป็นอันมาก. มาณพทูลถามอีกว่า พวกพราหมณ์เขากล่าวว่า การงานในการครองเรือนเป็นงานใหญ่ มีการริเริ่มมาก มีผลมาก แต่การงานในการบวชเป็นการงานน้อย มีการริเริ่มน้อย มีผลน้อย จะตรัสในข้อนี้อย่างไร.
พระเจ้าพิมพิสาร
ธรรมะที่ทรงแสดงไว้โดยปริยาย ( เพียงแง่ใดแง่หนึ่ง) มีอยู่อย่างนี้ ผู้มี่ไม่ยินยอมรับรองคำที่กล่าวดี พูดดี ของกันและกันในธรรมะที่ทรงแสดงแล้วโดยปริยาย ก็หวังได้ว่าจะบาดหมางทะเลาะวิวาทกันทิ่มแทงกันด้วยหอกคือปาก แต่ถ้าตรงกันข้าม ก็พร้อมเพรียงไม่วิวาทกัน เป็นเหมือนน้ำนมกับน้ำท่า ( เข้ากันได้ ) มองกันและกันด้วยดวงตาที่แสดงความรัก. ตรัสว่า ผู้ฆ่าสัตว์อุทิศพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต ย่อมประสบสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากโดยฐานะ ๕ คือ ๑. ประสบสิ่งมิใช่บุญเป็นอันมากโดยฐานะที่ ๑ คือข้อที่กล่าวว่า จงไปนำสัตว์ตัวโน้นมา ๒. โดยฐานะที่ ๒ คือสัตว์นั้นถูกลากคอมาย่อมเสวยทุกข์โทมนัส ๓. โดยฐานะที่ ๓ คือข้อที่กล่าวว่า จงฆ่าสัตว์นี้ ๔. โดยฐานะที่ ๔ คือเมื่อสัตว์ถูกฆ่าย่อมไม่เสวยทุกข์โทมนัส ๕.
ตรัสถามว่า ถ้าลดลงเสียอีก ๑ เหลือ ๒ จะลดอะไร โสณทัณฑพราหมณ์ลดข้อที่เกี่ยวกับชาติ คือกำเนิดจากมารดาบิดาเป็ณพราหมณ์. โสณทัณฑพราหมณ์ตอบว่า ๑. มีชาติดี คือเกิดจากมารดาบิดาเป็นพราหมณ์ สืบสายมา ๗ ชั่วบรรพบุรุษ ๒. ท่องจำมนต์ในพระเวทได้ ๓.
ผู้ ถามว่า เพราะดับอายตนะสำหรับถูกต้อง ๖ ( ตา หู เป็นต้น ) โดยไม่เหลือ ยังมีอะไรอย่างอื่นอยู่อีก โดยตอบว่า ไม่ควรกล่าวว่า มีอะไรอื่น, ไม่มีอะไรอื่น, มีก็ไม่ใช่ ไม่มีก็ไม่ใช่. โดยกองศีล, สมาธิ, ปัญญา, วิมุติ, จึงทรงตกลงเคารพธรรมที่ทรงตรัสรู้. ทรงชี้แจงต่อไปว่า ไม่ตรัสสอนให้ภิกษุทุกรูปกระทำการด้วยความไม่ประมาท แต่ก็ไม่ตรัสสอนให้ภิกษุทุกรูปกระทำด้วยความประมาท . เราเห็นผลแห่งความไม่ประมาทของภิกษุเหล่านี้ จึงสอนให้ทำการด้วยความไม่ปราะมาท.
พุทธประวัติ
พระมหาโกฏฐิตะ เป็นผู้เลิศในทางบรรลุปฏิสัมภิทา ( ความแตกฉาน). พระปิลินทวัจฉะ เป็นผู้เลิศในทางเป็นที่รักเป็นที่พอใจของเทวดา. พระโสณะ โกลิวิสะ เป็นผู้เลิศในทางปรารภความเพียร. พระภัททิยะ กาฬิโคธายบุตร เป็นผู้เลิศในทางมีสกุลสูง. อสังขตสังยุตต์ ประมวลเรื่องอสังขตะ. คือสิ่งที่มิได้ถูกปัจจัยปรุงแต่ง.
พิจารณาร่างกายโดยความเป็นธาตุ ๖. พิจาณาร่างกายที่เป็นศพมีลักษณะต่าง ๆ. ขันธ์ ๕ มีความพอใจเป็นมูล ๒. อุปาทานกับอุปาทานขันธ์ ๕ เป็นอันเดียวกัน อุปาทานไม่อื่น จากอุปาทานขันธ์ ๕ คือความกำหนัดเพราะพอใจในอุปาทานขันธ์ ๕ จัดเป็นอุปาทาน ๓.
พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้
ชตุกัณณี ๑๒. ภัทราวุธะ ๑๓. อุทยะ ๑๔. โปสาละ ๑๕.
ติคนที่ควรติ ชมคนที่ควรชม ทั้งสี่ประเภทนี้ มีข้อแม้อยู่ว่า เป็นไปโดยกาละและติชมตามความ จริง ปริพพาชกทูลว่า ตนชอบพอใจบุคคลประเภทที่ ๓ เพราะวางเฉย. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า พระองค์ชอบ บุคคลประเภทที่ ๔ เพราะรู้กาลนัยที่นั้น ๆ. ส่วนสัตบุรุษ ( คนดี ) ทรงแสดงโดยนัยตรงกันข้าม.
อนิจจสัญญา ( ความกำหนดหมายว่าไม่เที่ยง ) ๒. อนัตตสัญญา ( ความกำหนดหมายว่าไม่ใช่ตัวตน ) ๓. อสุภสัญญา ( ความกำหนดหมายว่าไม่งาม ) ๔.
- ครั้นวันรุ่งขึ้นพระผู้มีพระภาคจึงตรัสเล่าให้ภิกษุทั้งหลายทราบถึงการ โต้ตอบนั้น .
- นี้แหละคือการสอบสวนธรรมในตถาคต และตถาคตก็เป็นอันสวบสวนดีแล้วโดยธรรม.
- ชื่อว่าพระอริยเจ้า เพราะไกลจากอกุศลบาปธรรม, ชื่อว่าพระอรหันต์ เพราะไกลจากอกุศลบาปธรรม.
- เล่มนี้ก็เช่นเดียวกัน เป็นภาษิตของพระสาริบุตร อธิบายพระสูตรอีก ๑๖ สูตร ในสุตตนิบาต คือ อธิบายคำถามคำตอบเกี่ยวกับมาณพ ๑๖ คน ( ซึ่งย่อไว้เป็นสูตรที่ ๕๕ ถึง ๗๐ โปรดดูหน้าพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ ) จบวรรคที่ ๔ ขึ้นวรรคที่ ๕ ซึ่งมี ๑๖ สูตร เป็นการอธิบายคำถามคำตอบอย่างละเอียดทุกตัวอักษรเช่นกัน.
- พระเถระจึงลากลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคกราบทูลถามเรื่องการที่ทรงตอบปัญหานั้น ซึ่งก็ตรัสเล่าความให้ฟังตรงกัน.
- พระสาริบุตรกล่าวกะภิกษุทั้งหลาย ว่า ภิกษุผู้มีฤทธิ์ มีความเชี่ยวชาญ ทางจิต อาจอธิษฐานให้ท่อนฟืนเป็นดิน, เป็นน้ำ, เป็นไฟ, เป็นลม, ให้งาม, ให้ไม่งาม อย่างใดอย่างหนึ่งได้ เพราะมีธาตุทั้งหก ( ปฐวีธาตุ ถึงอสุภธาตุ ) อยู่ในท่อนไม้นั้น.
มีกิตติศัพท์ในทางชั่ว ๓. เมื่อเข้าสู่บริษัทไม่องอาจ มีอาการเก้อเขิน ๔. เป็นผู้หลง ถึงแก่ความตาย ๕.
มีการกล่าวพรรณนาถึงท้าวมหาราชทั้งสี่องค์ ประจำทิศต่าง ๆ พร้อมด้วยบุตร ซึ่งเคารพ นมัสการพระพุทธเจ้า. เมื่อภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เรียน “ รักขา ” นี้ ท่องบ่นดีแล้ว อมนุษย์ใด ๆ จะเป็นยักษ์ คนธรรมพ์ กุมภันฑ์ นาค ตลอกจนพวกพ้อง ถ้ามีจิตประทุษร้าย เข้าไปใกล้ ผู้เรียน “ รักขา” นี้ จะเข้าพวกไม่ได้ จะชื่อว่าประพฤติผิดเหมือนโจร จะถูกลงโทษ . พวกยักษ์ มหายักษ์ เสนาบดี มหาเสนาบดีจะคอยชี้ความผิดของอมนุษย์เหล่านั้น. ดูเถิด อานนท์ !