บทว่า ปลิตา นสฺสนฺตุ วาสว ความว่า ข้าแต่ท้าววาสวะผู้ประเสริฐที่สุดในทวยเทพ แม้ผมหงอกทั้งหลายบนศีรษะของข้าพเจ้า ก็จงหายไป คืออย่าได้ปรากฏบนศีรษะของข้าพเจ้า. ปาฐะว่า ปลิตานิ สิโรรุหา ดังนี้ก็มี. บทว่า วชฺฌญฺจาปิ ความว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้สามารถปล่อยโจรผู้ทำความผิด คือ ผิดต่อพระราชา ถึงโทษประหาร ด้วยกำลังของตน นางผุสดีแสดงความเป็นใหญ่ของตนด้วยบทนี้.
บทว่า วรทํ ความว่า ผู้ให้สิ่งประเสริฐมีเศียรที่ประดับแล้วนัยน์ตาทั้งคู่ หทัยเนื้อเลือด เศวตฉัตร บุตรและภรรยาเป็นต้น แก่ยาจก ผู้ขอแล้ว. บทว่า กุจฺฉิ ได้แก่ อวัยวะที่อยู่กลางตัว ดังนั้นท่านแสดงคำที่กล่าวแล้วโดยย่อ. บทว่า ลิขิตํ ได้แก่ คันศรที่ช่างศรผู้ฉลาดขัดเกลาอย่างดี. บทว่า อนุนฺนตํ ความว่า มีกลางคันไม่นูนขึ้นเสมอดังคันชั่ง ครรภ์ของข้าพเจ้าพึงเป็นอย่างนี้. บทว่า นปฺปวตฺเตยฺยุ ความว่า ไม่พึงคล้อยห้อยลง.
พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร
ขอให้ข้าพระพุทธเจ้าได้เป็น มารดาแห่งพระพุทธเจ้าผู้เช่นพระองค์ ในอนาคตกาล. บาปกรรม เธอมิได้ทำไว้เลย และเธอไม่เป็นที่รักของเรา ก็หาไม่ แต่บุญของเธอสิ้นแล้ว เหตุนั้น เราจึงกล่าวกับเธออย่างนี้ ความตายใกล้เธอ เธอจักต้องพลัดพรากจากไป จงเลือกรับพร ๑๐ ประการนี้จากเราผู้จะให้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นโม ตยตฺถุ ความว่า ขอนอบน้อมแด่พระองค์. บทว่า กึ ปาปํ ความว่า นางผุสดีทูลถามว่า ข้าพระบาทได้ทำบาปอะไรไว้ในสำนักของพระองค์.
ส่วนพระบรมศาสดาก็ทรงทำ บูชานุโมทนาแก่ราชธิดาทั้งสอง นั้นว่า ก็เธอทั้งสองได้ประดิษฐานการบูชา อันใดแก่เราในภพนี้. วิบากแห่งการบูชานั้น จงสำเร็จแก่เธอทั้งสอง. ความปรารถนาเธอทั้งสองเป็นอย่างใด จงเป็นอย่างนั้น. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนามหาเวสสันดรชาดก ซึ่งประดับด้วยคาถาประมาณ ๑,๐๐๐ คาถานี้มาแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน มหาเมฆก็ยังฝนโบกขรพรรษให้ตก ในที่ประชุมแห่งพระประยูรญาติของเรา อย่างนี้เหมือนกัน. บรรดาพร ๑๐ ประการนั้น ความเป็นอัครมเหสีของพระเจ้าสีวีราชเป็นพรที่ ๑.
สักกบรรพ์ Forty Three พระคาถา
บทว่า ตุยฺหํ วินาภาโว ความว่า เธอกับพวกเราจักพลัดพรากจากกัน. บทว่า ปเวจฺฉโต แปลว่า ผู้ให้อยู่. ถาม เมื่อพระพุทธองค์ปลงพระชนมายุสังขาร เกิดเหตุอะไรขึ้น.. นี่หรือไม่ ที่คนไทยกล่าวขานกันว่า พระบรมเดชานุภาพ. ธรรมเทศนามหาเวสสันดรนี้ ชื่อว่าท้าวสักกเทวราชให้ตั้งขึ้นแล้วในเทวโลกด้วยประการฉะนี้.
2) อปัณณกวรรค อวิทูเรนิทาน ขุททกนิกาย ชาดก, มก. การนำไปประยุกต์ในการดำเนินชีวิต ………………………………………………………………………………….. ลักษณะคำประพันธ์ ………………………………………………………………………………….. @ Wutthichai Thungthong.
มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 วิชาภาษาไทย
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ผุสฺสตี เป็นบทที่ท้าวสักกเทวราชใช้เรียกชื่อเธอ. บทว่า วรวณฺณาเภ ความว่า ประกอบด้วยรัศมีแห่งผิวพรรณอันประเสริฐ. บทว่า ทสธา ได้แก่ ๑๐ ประการ. บทว่า ปพฺยา ได้แก่ ทำให้เป็นสิ่งที่พึงถือเอาในแผ่นดิน. บทว่า วรสฺสุ ความว่า ท้าวสักกเทวราชตรัสบอกว่า เธอจงถือเอา. บทว่า จารุปุพฺพงฺคี ความว่า ประกอบด้วยส่วนเบื้องหน้าอันงาม คือด้วยลักษณะอันประเสริฐ.
ความเป็นผู้มีขนคิ้วดำเป็นพรที่ ๓. ชื่อว่าผุสดีเป็นพรที่ ๔. การได้พระโอรสเป็นพรที่ ๕.
- ส่วนพระบรมศาสดาก็ทรงทำ บูชานุโมทนาแก่ราชธิดาทั้งสอง นั้นว่า ก็เธอทั้งสองได้ประดิษฐานการบูชา อันใดแก่เราในภพนี้.
- บทว่า ปเวจฺฉโต แปลว่า ผู้ให้อยู่.
- ปาฐะว่า ปลิตานิ สิโรรุหา ดังนี้ก็มี.
- นางสมณี นางสมณคุตตา นางภิกษุณี นางภิกขุทาสิกา นางธรรมา นางสุธรรมา และนางสังฆทาสีเป็นที่ ๗.
- ถาม เมื่อพระพุทธองค์ปลงพระชนมายุสังขาร เกิดเหตุอะไรขึ้น..
- 12) พระอัสสชิเถระ, พระวินัยปิฎก มหาขันธกะ, มก.
บทว่า ยํ ตุยฺหํ มนโส ปิยํ ความว่า ท้าวสักกเทวราชตรัสว่า เธอจงถือเอาพรซึ่งเป็นที่รักแห่งใจของเธอนั้นๆ ทั้ง ๑๐ ส่วน. นางสมณี นางสมณคุตตา นางภิกษุณี นางภิกขุทาสิกา นางธรรมา นางสุธรรมา และนางสังฆทาสีเป็นที่ ๗. ราชธิดาทั้ง ๗ เหล่านั้น ในพุทธุปบาทกาลนี้ มีนามปรากฏคือ นางเขมา นางอุบลวรรณา นางปฏาจารา พระนางโคตมี นางธรรมทินนา พระนางมหามายา และนางวิสาขาเป็นที่ ๗. ข้าพระพุทธเจ้าได้ทำการบูชาพระองค์ ด้วยจุรณแห่งแก่นจันทน์นี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนุโมทิตฺถ ความว่า มีจิตบันเทิง คือทรงโสมนัส. บทว่า สพฺเพ เต ลจฺฉสิ วเร ความว่า ย่อมได้พรเหล่านั้นทั้งหมด. 12) พระอัสสชิเถระ, พระวินัยปิฎก มหาขันธกะ, มก.
10) อาทิตตปริยายสูตร, พระวินัยปิฎก มหาวรรค, มก. 7) อนันตลักขณสูตร, พระวินัยปิฎก มหาวรรค, มก. 13) มหาปทานสูตร, ทีฆนิกาย มหาวรรค.
บทว่า ธรณีรุหํ ได้แก่ ต้นไม้. แน่ะนางผู้งามทั่วองค์ พร ๑๐ ประการเหล่าใดที่เราให้แก่เธอ เธอจงได้พรเหล่านั้นทั้งหมด ในแว่นแคว้นของพระเจ้าสีวีราช. ตอบ ให้เกิดประโยชน์ดังนี้ ๑. กำจัดเสี้ยนหนามของพระศาสนาให้สูญสิ้นไป ๒. ได้จัดระเบียบวางรูปการศาสนาให้เป็นไปตามธรรมวินัย ๓.